Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฟ้องร้อง, ร้อง, ฟ้อง , then ฟอง, ฟ้อง, ฟ้องร้อง, รอง, ร้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฟ้องร้อง, 210 found, display 1-50
  1. อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
  2. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  3. อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
  4. อตฺถคติ : (อิต.) อันถึงซึ่งเนื้อความ, อรรถคดี(เรื่องที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล).
  5. อนุลปนา (อนุลฺปนา) : อิต. การกล่าวฟ้องร้อง, การกล่าวโทษ, การติเตียน
  6. อนุลฺลปนา : (อิต.) การกล่าวหา, การกล่าวโทษ, การฟ้องร้อง.
  7. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  8. ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
  9. โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
  10. ชนติ : ก. ทำเสียง, ออกเสียง, ร้อง
  11. นทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง, คำราม, ร้อง
  12. ปวชฺชติ : ก. ออกเสียง, สวด,ร้อง
  13. อนุทฺธเสติ : ก. รื้อ, ขจัด, ทำลาย, โจทย์, ฟ้อง
  14. อุคฺคชฺชติ : ก. ตะโกน, คำราม, ร้อง, ออกเสียง
  15. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  16. ถนยติ : ก. คำราม, แผดเสียง, (ฟ้า) ร้อง
  17. กลติ : ก. เปล่งเสียงร้อง, ร้องออกมา
  18. กลิต : กิต. เปล่งเสียงร้อง
  19. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  20. กากวสฺส : ป. เสียงร้องของกา, เสียงร้องดุจเสียงกา
  21. กาโกรว : ป. เสียงร้องของกา, เสียงการ้อง
  22. กิริ- กิริ : อ. เสียงร้อง “กิริ- กิริ” ของนก
  23. กุกุร กุกุห : (ปุ.) นกเขา (ร้องเสียงกุกุ).
  24. กุชฺชติ : ก. (นก) ส่งเสียงร้อง
  25. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  26. กูชติ : ก. (นก) ร้อง, ร้องเจี๊ยบจ๊าบ
  27. กูชน : นป. เสียงนกร้องเจี๊ยบจ๊าบ
  28. กูชิต : นป., ค. เสียงนกร้อง; กึกก้องด้วยเสียงนกร้อง
  29. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  30. โกญฺจนาท : (ปุ.) การบันลือของนกกระเรียน, การร้องของนกกระเรียน.
  31. คคฺคร : นป. เสียงร้อง, เสียงคำราม
  32. คคฺครายติ : ก. ร้อง, คำราม, แผดเสียง, คราง
  33. คชฺชติ : ก. ร้อง, คำราม, ฟ้าร้อง
  34. คชฺชน : (นปุ.) การร้อง, การกระหึม, การคำรน, การคำราม, เสียงร้อง (เสียงฟ้า), ฯลฯ, ฟ้าร้อง. คชฺชฺ สทฺเท, ยุ.
  35. คชฺชนา : อิต. การร้อง, การคำราม, การแผดเสียง
  36. คชฺชิตุ : ป. ผู้ร้อง, ผู้คำราม, ผู้แผดเสียง
  37. คนฺธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนแพะร้อง วิ. คนฺธ เลสํ อรตีติ คนฺธโร. คนฺธปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. คนฺธโร เอว คนฺธาโร.
  38. คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
  39. คายก : (ปุ.) คนขับร้อง, คนร้องเพลง. เค สทฺเท, ณฺวุ. เอการสฺส อายกาโร.
  40. คายติ : ก. ขับร้อง, ร้องเพลง, สาธยาย
  41. คายน : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การขับกล่อม, การร้องเพลง, เพลงขับ. ยุ ปัจ.
  42. คายิกา : อิต. หญิงนักร้อง
  43. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  44. คีตรว, - สทฺท, - สร : ป. เสียงขับร้อง, เสียงเพลง
  45. โครวก : นป. การร้องของโค
  46. ฆวน : (นปุ.) การประกาศ, การป่าวร้อง. ฆุ สทฺเท, ยุ.
  47. ฆาวก : (ปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คน ผู้โฆษณา. ฆุ สทฺเท, ณฺวุ.
  48. ฆุฏฐ : ค. โฆษณาแล้ว, ประกาศแล้ว, ป่าวร้องแล้ว
  49. ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
  50. โฆสก : (นปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คนโฆษณา, คนแถลงข่าว. ส. โฆษก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-210

(0.0612 sec)