Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาท่าทาง, ท่าทาง, ภาษา , then ทาทาง, ท่าทาง, ภาษ, ภาษา, ภาษาทาทาง, ภาษาท่าทาง, ภาสา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาท่าทาง, more than 7 found, display 1-7
  1. body language : (N) ; ภาษาท่าทาง ; Related:ภาษากาย ; Syn:gesture
  2. wise 2 : (N) ; ท่าทาง ; Related:กริยาท่าทาง ; Syn:manner, way
  3. pose : (N) ; ท่าทาง ; Syn:artificial position, mannerism, posture
  4. posture : (N) ; ท่าทาง ; Syn:pose
  5. set : (N) ; ท่าทาง ; Related:การวางท่าทาง
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาท่าทาง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาท่าทาง, more than 7 found, display 1-7
  1. ภาษาท่าทาง : (N) ; body language ; Def:การใช้ท่าทางต่างๆ สื่อสารแทนคำพูด ; Samp:ฉันพยายามใช้ภาษาท่าทางช่วยแล้วแต่เขาก็ยังไม่เข้าใจที่ฉันพูดอยู่ดี
  2. ท่าทาง : (N) ; demeanor ; Related:bearing, manner, look, appearance ; Syn:ความประพฤติ, มรรยาท, การกระทำ, กิริยาท่าทาง, กิริยามารยาท, การประพฤติตัว ; Samp:ในการเข้ารับการสัมภาษณ์ต้องเอาใจใส่ทุกรายละเอียด นับตั้งแต่ลักษณะท่าทาง การแต่งกาย ปฏิกิริยาทางอารมณ์ ฯลฯ
  3. ท่าทาง : (N) ; style ; Related:posture, gesture, action ; Syn:ลีลา, อิริยาบถ, อาการ, ทีท่า, ท่วงท่า, ท่า, ท่าที, การวางท่า ; Samp:สมชายเดินด้วยท่าทางมั่นใจ
  4. ภาษา : (N) ; language ; Related:speech, words ; Syn:คำพูด ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม
  5. ภาษามนุษย์ : (N) ; human language ; Syn:ภาษา ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร
  6. ภาษาพูด : (N) ; colloquialism ; Ant:ภาษาเขียน ; Def:ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน ; Samp:เนื่องจากเด็กยังไม่เข้าใจภาษาพูดได้ เขาจึงมีความรู้สึกไวเป็นพิเศษต่อกิริยาท่าทาง ; Unit:ภาษา
  7. ภาษาคน : (N) ; human speech ; Related:human tongue, human language ; Syn:ภาษามนุษย์ ; Ant:ภาษาสัตว์ ; Samp:สัตว์ที่ถูกฝึกดีมักจะฟังภาษาคนรู้เรื่อง ; Unit:ภาษา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาท่าทาง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาท่าทาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.
  2. ท่าทาง : ว. กิริยาอาการที่ปรากฏให้เห็น เช่น ท่าทางดี ท่าทางไม่ดี, บางทีใช้ว่า ท่า ก็มี.
  3. ภาษาคำควบมากพยางค์ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบ หน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาว หลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. (อ. polysynthetic language).
  4. ภาษาคำโดด : น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยน แปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่อง กับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำ สองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. (อ. isolating language).
  5. ภาษาคำติดต่อ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำ บางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยว เนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. (อ. agglutinative language).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาท่าทาง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาท่าทาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : เสียงหรือกิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน, คำพูด
  2. ภาษามคธ : ภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ, ภาษาของชาวแคว้นมคธ หมายถึง ภาษาบาลี
  3. อาการ : ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, สภาพ, ท่าทาง, ท่วงที, ทำนอง, กิริยา, กิริยาที่ทำ, ลักษณะของการกระทำหรือความเป็นไป
  4. มคธภาษา : ภาษาของชนชาวมคธ, ภาษาของชนผู้อยู่ในแคว้นมคธ
  5. ปฏิสัมภิทา : ความแตกฉาน, ความรู้แตกฉาน, ปัญญาแตกฉาน มี ๔ คือ ๑.อัตถปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในอรรถ ๒.ธัมมปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในธรรม ๓.นิรุตติปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในนิรุกติ คือ ภาษา ๔.ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาท่าทาง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาท่าทาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  3. อาการก : นป. ลักษณะ, ท่าทาง, มรรยาท, อาการ, เหตุ
  4. อิงฺค : (ปุ.) อาการ, ท่าทาง, ความเคลื่อนไหว, ความอัศจรรย์, ความรู้. อิงฺคฺคติยํ, อ.ส.อิงฺคฺ.
  5. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาท่าทาง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษาท่าทาง, 5 found, display 1-5
  1. กิริยา, อาการ, ท่าทาง : อากปฺโป [ป.]
  2. รู้ภาษาบาลี : ปาลิภาสาชนนกา
  3. ผู้ฉลาดในภาษา : นิรุตฺติกุสโล
  4. อนุรักษ์ภาษาไทย : ทยฺยภาสารกฺข
  5. สันสฤต : สกฺกฏภาษา

(0.2347 sec)