Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รักษาหน้า, รักษา, หน้า , then รักษา, รักษาหน้า, หนา, หน้า .

Eng-Thai Lexitron Dict : รักษาหน้า, more than 7 found, display 1-7
  1. save one's face : (IDM) ; รักษาหน้า ; Related:ไม่ทำให้ขายหน้า
  2. maintain : (VT) ; รักษา ; Related:ดูแลต่อไป, คงอยู่, ดำรง, คงเอาไว้, ทรงไว้, รักษาไว้ ; Syn:sustain, keep up, preserve
  3. coupon : (SL) ; หน้า
  4. cure : (VT) ; รักษา ; Related:เยียวยา ; Syn:heal, make well, restore
  5. cure : (VI) ; รักษา ; Related:เยียวยา ; Syn:heal
  6. cure of : (PHRV) ; รักษา ; Related:เยียวยา ; Syn:heal of
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : รักษาหน้า, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : รักษาหน้า, more than 7 found, display 1-7
  1. รักษาหน้า : (V) ; save one's face ; Syn:ไว้หน้า ; Def:ไม่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นอาย ; Samp:ที่ผมทำไปก็เพื่อรักษาหน้าพ่อแม่เอาไว้
  2. หน้า : (N) ; face ; Related:visage, countenance, mug ; Def:ส่วนของศีรษะตั้งแต่หน้าผากลงมาจดคาง ; Samp:ชายร่างใหญ่กำยำผู้นี้มีแผลเป็นที่หน้า แต่น้อยคนนักที่จะกล้าเรียกเขาว่า อ้ายหน้าบาก” ; Unit:หน้า
  3. รักษา : (V) ; preserve ; Related:keep, protect ; Syn:ปกป้อง, พิทักษ์ ; Def:รักษาไว้ให้คงอยู่มิให้สูญเสีย ; Samp:ทุกคนมีหน้าที่ที่จะต้องรักษาศิลปวัฒนธรรมอันดีของชาติไว้
  4. หน้า : (CLAS) ; page ; Syn:แผ่น ; Def:ลักษณนามบอกจำนวนด้านของแผ่นกระดาษ ; Samp:แผ่นดิสเกตต์ 1 แผ่นจะมีค่าเท่ากับเอกสารพิมพ์ดีดไม่น้อยกว่า 150 หน้า
  5. หน้า : (ADJ) ; front ; Def:ด้านของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อยู่ตรงข้ามกับสายตาของเรา หรือด้านที่เผชิญหน้ากับสายตาของเรา ; Samp:แสงอาทิตย์สะท้อนจากกระจกหลังของรถคันหน้ามาเข้าตาเขา
  6. รักษา : (V) ; beware of ; Related:be careful, keep [her figure] ; Syn:ระวัง, ดูแล ; Samp:ผู้หญิงพยายามรักษาให้รูปร่างสะโอดสะอง เตะตาเพศตรงข้าม
  7. รักษา : (V) ; cure ; Related:remedy, heal, treat (illness), have a treatment ; Syn:รักษ์, เยียวยา ; Def:ทำให้หายจากโรค ; Samp:ชาวบ้านมักทัศนคติว่า โรคบางอย่างก็ควรรักษาด้วยแบบเก่า
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : รักษาหน้า, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : รักษาหน้า, more than 5 found, display 1-5
  1. รักษาหน้า : ก. ระวังไม่ยอมให้ต้องอับอายขายหน้า.
  2. หน้า : น. ส่วนของศีรษะตั้งแต่หน้าผากลงมาจดคาง; ซีกของกายที่ตรงข้ามกับ หลัง, ด้านของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อยู่ตรงข้ามกับสายตาของเราหรือด้านที่ เผชิญหน้ากับสายตาของเรา เช่น เขาวิ่งอยู่หน้าฉัน จึงเห็นแต่หลังเขา ไว ๆ; ส่วนบนของบางสิ่ง เช่น หน้าขนม ข้าวเหนียวหน้าสังขยา หน้าปกหนังสือ; เครื่องปรุงที่แต่งหรือโรยบนอาหารบางอย่าง เช่น กระเทียมเจียวโรยหน้าข้าวต้ม; ด้านหนึ่ง ๆ ของวัตถุแบน ๆ อย่าง กระดาษ เช่น หน้ากระดาษ หน้าซอง, ด้านของเครื่องตีที่ขึงด้วยหนัง เช่น หน้ากลอง, ด้านหนึ่ง ๆ ของลูกเต๋าและนํ้าเต้าซึ่งมี ๖ ด้าน; ส่วน กว้างของแผ่นกระดาน เสาเหลี่ยมหรือผืนผ้า เป็นต้น; ชายผ้าบางชนิด ที่มีลวดลาย, ด้านของผ้าที่มีลวดลายชัดกว่า; คราว เช่น เมื่อข้าวสุกแล้ว ก็ถึงหน้าเก็บเกี่ยว, ฤดู เช่น หน้าฝน หน้าทุเรียน, โดยปริยายหมายถึงคน เช่น เขาสู้ทุกคนไม่ว่าหน้าไหน, เกียรติและศักดิ์ศรี เช่น เห็นแก่หน้า ไม่ไว้หน้า, ลักษณนามบอกจํานวนด้านของแผ่นกระดาษ เช่น หนังสือ เล่มนี้มี๒๐๐ หน้า. ว. ถัดไป เช่น อาทิตย์หน้า ฉบับหน้า, ตรงข้ามกับ หลัง (ใช้แก่เวลาที่ยังมาไม่ถึง) เช่น วันหน้า เดือนหน้า ปีหน้า, อยู่ตรงข้าม กับข้างหลัง เรียกว่า ข้างหน้า.
  3. รักษ์, รักษา : ก. ระวัง เช่น รักษาสุขภาพ, ดูแล เช่น รักษาทรัพย์สมบัติ, ป้องกัน เช่น รักษาบ้านเมือง, สงวนไว้ เช่น รักษาความสะอาด รักษาไมตรี; เยียวยา เช่น รักษาคนไข้. (ส.; ป. รกฺข).
  4. ซึ่งหน้า, ซึ่ง ๆ หน้า : ว. ต่อหน้า เช่น กระทําความผิดซึ่งหน้า.
  5. ไว้หน้า : ก. รักษาเกียรติฐานะของผู้อื่นไม่ให้ต้องได้รับความอับอาย ขายหน้า เช่น ไม่ว่าจะพูดจะทำอะไรควรต้องไว้หน้าผู้หลักผู้ใหญ่บ้าง ติเตียนศิษย์ต้องไว้หน้าครู.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : รักษาหน้า, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : รักษาหน้า, more than 5 found, display 1-5
  1. กายบริหาร : การรักษาร่างกายให้เหมาะสมแก่ความเป็นสมณะ เช่นไม่ไว้ยาวเกินไป ไม่ไว้หนวดเครา ไม่ไว้เล็บยาว ไม่ผัดหน้า ไม่แต่งเครื่องประดับกาย ไม่เปลือยกาย เป็นต้น
  2. สุภัททะ วุฒบรรพชิต : “พระสุภัททะผู้บวชเมื่อแก่” ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งการปรารภที่จะทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ก่อนบวช เป็นช่างตัดผมในเมืองอาตุมา มีบุตรชาย ๒ คน เมื่อบวชแล้วคราวหนึ่งได้ข่าวว่าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยสงฆ์หมู่ใหญ่จะเสด็จมายังเมืองอาตุมา จึงให้บุตรทั้ง ๒ เอาเครื่องมือตัดผมออกไปเที่ยวขอตัดผมตามบ้านเรือนทุกแห่ง แลกเอาเครื่องปรุงยาคูมาได้มากมาย แล้วบัญชาการให้ผู้คนจัดเตรียมข้าวยาคูไว้เป็นอันมาก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ก็นำเอาข้าวยาคูนั้นเข้าไปถวาย พระพุทธเจ้าตรัสถาม ทรงทราบความว่าพระสุภัททะได้ข้าวนั้นมาอย่างไรแล้ว ไม่ทรงรับและทรงติเตียน แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท ๒ ข้อ คือ บรรพชิตไม่พึงชักชวนคนทำในสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ และภิกษุผู้เคยเป็นช่างกัลบกไม่พึงเก็บรักษาเครื่องตัดโกนผมไว้ประจำตัว จากการที่ได้ถูกติเตียนและเสียของเสียหน้าเสียใจ ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระสุภัททะก็ได้ผูกอาฆาตไว้ ต่อมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน พระสุภัททะร่วมอยู่ในคณะของพระมหากัสสปเถระ ซึ่งกำลังเดินทางจากเมืองปาวาสู่เมืองกุสินารา ระหว่างทางนั้น คณะได้ทราบข่าวพุทธปรินิพพานจากอาชีวกผู้หนึ่ง ภิกษุทั้งหลายที่ยังไม่สิ้นราคะ (คือพระปุถชน โสดาบัน และสกทาคามี) พากันร้องไห้คร่ำครวญเป็นอันมาก ในขณะนั้นเอง พระสุภัททะวุฒบรรพชิต ก็ร้องห้ามขึ้นว่า “อย่าเลย ท่านผู้มีอายุ พวกท่านอย่าเศร้าโศก อย่าร่ำไห้ไปเลย พวกเราพ้นดีแล้ว พระมหาสมณะนั้นคอยเบียดเบียนพวกเราว่าสิ่งนี้ควรแก่เธอ สิ่งนี้ไม่ควรแก่เธอ บัดนี้พวกเราปรารถนาสิ่งใด ก็จักกระทำสิ่งนั้น” พระมหากัสสปเถระได้ฟังแล้วเกิดธรรมสังเวช ดำริว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง ๗ วัน ก็ยังเกิดเสี้ยนหนามขึ้นแล้วในพระศาสนา หากต่อไปคนชั่วได้พวกพ้องมีกำลังเติบกล้าขึ้น ก็จะทำพระศาสนาให้เสื่อมถอย ดังนั้น หลังจากเสร็จงานถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว ท่านจึงได้ยกถ้อยคำของสุภัททะวุฒบรรพชิต นี้ขึ้นเป็นข้อปรารภ ชักชวนพระเถระทั้งหลายร่วมกันทำสังคายนาครั้งแรก
  3. อารักขกัมมัฏฐาน : กรรมฐานเป็นเครื่องรักษาตน, กรรมฐานเป็นเครื่องรักษาผู้ปฏิบัติให้สงบระงับ ซึ่งควรเจริญเป็นนิตย์ เป็นของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงไว้ มี ๔ อย่างคือ ๑) พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า ที่มีในพระองค์ และทรงเกื้อกูลแก่ผู้อื่น ๒) เมตตา แผ่ไมตรีจิต คิดจะให้สัตว์ทั้งปวงเป็นสุขทั่วหน้า ๓) อสุภะ พิจารณาร่างกายตนและผู้อื่นให้เห็นเป็นไม่งาม ๔) มรณัสสติ นึกถึงความตายอันจะมีแก่ตนเป็นธรรมดา
  4. บริหาร : ดูแล, รักษา, ปกครอง
  5. ปกครอง : คุ้มครอง, ดูแล, รักษา, ควบคุม
  6. Budhism Thai-Thai Dict : รักษาหน้า, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : รักษาหน้า, more than 5 found, display 1-5
  1. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  2. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  3. คุปฺปติ, โคปติ : ก. คุ้มครอง, รักษา
  4. จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  5. ชคฺคติ : ก. ดูแล, รักษา, เอาใจใส่, บำรุงเลี้ยง, ระวัง
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : รักษาหน้า, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : รักษาหน้า, more than 5 found, display 1-5
  1. รักษา : รกฺขติ, ปาเลติ
  2. ป้องกัน รักษา : อภิปาลนตฺถาย เจว อภวฑฺฒนตฺถาย จ
  3. รักษาโรค : ติกิจฺฉติ
  4. รักษาไว้ซึ่งคนทรงธรรม : ธมฺมธารึ ธาเรติ
  5. รักษาศีล, รักษาสิ่งของ : รกฺขติ, โคเปติ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : รักษาหน้า, more results...

(0.3761 sec)