Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หาความ .

Eng-Thai Lexitron Dict : หาความ, more than 7 found, display 1-7
  1. find out : (PHRV) ; หาความจริง ; Related:ตรวจสอบ ; Syn:discover
  2. read between : (PHRV) ; หาความหมาย ; Related:ตีความ
  3. rectify : (VT) ; หาความยาวของเส้นโค้ง (ทางคณิตศาสตร์)
  4. gadabout : (N) ; คนชอบเที่ยวหาความสำราญอย่างไร้จุดหมาย ; Related:คนชอบเที่ยวเตร่ไปวันๆ ; Syn:rover, rambler
  5. gallivant : (VI) ; ท่องเที่ยวหาความสำราญ ; Related:เที่ยวเตร็ดเตร่ไป ; Syn:roam, wander, ramble
  6. having it large : (SL) ; ไปหาความสนุกสนาน ; Related:ออกไปมีช่วงเวลาที่สนุกสนาน
  7. inquisition : (N) ; การสอบสวนหาความผิด ; Related:การสืบสวน, การพิจารณาคดี ; Syn:investigation, official inquiry, trial
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : หาความ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : หาความ, more than 7 found, display 1-7
  1. หาความ : (V) ; accuse ; Related:charge, blame, denounce, allege, indict, incriminate ; Syn:กล่าวโทษ, ใส่ความ, ใส่โทษ
  2. หาความ : (V) ; accuse ; Related:charge, blame, denounce, allege, indict, incriminate ; Syn:กล่าวโทษ, ใส่ความ, ใส่โทษ
  3. ใส่ความ : (V) ; slander ; Related:frame ; Syn:หาความ, ให้ร้าย, ใส่ไฟ, กล่าวหา, ใส่ร้าย ; Def:พูดหาเหตุร้าย, กล่าวหาเรื่องร้ายให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ; Samp:คำสอนของศาสนาคริสต์บัญญัติห้ามไม่ให้ฆ่าคน อย่าผิดประเวณี อย่าลักขโมย อย่าโกหก ใส่ความผู้อื่น
  4. ใส่ไคล้ : (V) ; slander ; Related:frame ; Syn:ใส่ความ, ใส่ร้าย, หาความ, ใส่ไฟ ; Def:หาความไม่ดีป้ายผู้อื่น ; Samp:ถ้อยคำเหล่านี้ล้วนเป็นถ้อยคำของพวกที่ต้องการใส่ไคล้ฉันทั้งนั้น
  5. เปิดหูเปิดตา : (V) ; broaden one's view ; Related:widen one's horizon, have an eye-opening experience, open one's eyes ; Syn:หาความรู้รอบตัว, หาประสบการณ์ ; Def:ให้ได้ฟังและให้ได้เห็นมาก (มักใช้เกี่ยวกับการไปพักผ่อนหย่อนใจและหาความรู้ไปในตัว) ; Samp:ฉันอยากจะไปต่างประเทศเพื่อเปิดหูเปิดตาบ้าง
  6. กลั่นแกล้ง : (V) ; defame ; Related:persecute, treat somebody badly, slander, libel ; Syn:แกล้ง ; Def:หาความไม่ดีใส่ให้, หาอุบายให้ร้ายโดยวิธีต่างๆ, แกล้งใส่ความ ; Samp:เจ้าหน้าที่ได้กล่าวถึงการตรวจค้นครั้งนี้ว่าไม่ได้เป็นการกลั่นแกล้งใครเป็นการเข้าตรวจค้นตามหน้าที่
  7. การเล่าเรียน : (N) ; study ; Related:learning, education ; Syn:การเรียน, การศึกษา, การเรียนรู้, การหาความรู้ ; Samp:การเล่าเรียนทำให้คนมีความคิดเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หาความ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หาความ, more than 5 found, display 1-5
  1. หาความ : ก. กล่าวโทษ, ใส่ความ; หาเรื่องไม่จริงมาว่า.
  2. เหมา ๑ : [เหฺมา] ก. คิดเป็นจํานวนรวม เช่น รับเหมา เหมาผลไม้ทั้งเข่ง; หาความ เช่น อย่าเหมาว่าฉันผิดคนเดียว.
  3. กลั่นแกล้ง : ก. หาความไม่ดีใส่ให้, หาอุบายให้ร้ายโดยวิธีต่าง ๆ, แกล้งใส่ความ.
  4. ข้อมูล : น. ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สําหรับ ใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคํานวณ.
  5. คิดค้น : ก. ตริตรองเพื่อหาความจริง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หาความ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หาความ, 9 found, display 1-9
  1. แส่โทษ : หาความผิดใส่, หาเรื่องผิดให้
  2. ติณวัตถารกวินัย : ระเบียบดังกลบไว้ด้วยหญ้า ได้แก่กิริยาที่ให้ประนีประนอมกันทั้ง ๒ ฝ่าย ไม่ต้องชำระสะสางหาความเดิม เป็นวิธีระงับอาปัตตาธิกรณ์ ที่ใช้ในเมื่อจะระงับลหุกาบัติที่เกี่ยวกับภิกษุจำนวนมาก ต่างก็ประพฤติไม่สมควรและซัดทอดกันเป็นเรื่องนุงนังซับซ้อน ชวนให้ทะเลาะวิวาท กล่าวซัดลำเลิกกันไปไม่มีที่สุด จะระงับวิธีอื่นก็จะเป็นเรื่องลุกลามไป เพราะถ้าจะสืบสวนสอบสวนปรับให้กันและกันแสดงอาบัติ ก็มีแต่จะทำให้อธิกรณ์รุนแรงยิ่งขึ้น จึงระงับเสียด้วยติณวัตถารกวิธี คือแบบกลบไว้ด้วยหญ้า ตัดตอนยกเลิกเสีย ไม่สะสางความหลังกันอีก
  3. ธรรมสวนะ : การฟังธรรม, การหาความรู้ความเข้าใจในหลักความจริง ความถูกต้องดีงาม ด้วยการเล่าเรียน อ่านและสดับฟัง, การศึกษาหาความรู้ ที่ปราศจากโทษ; ธัมมัสสวนะ ก็เขียน
  4. ปริปุจฉา : การสอบถาม, การค้นคว้า, การสืบค้นหาความรู้
  5. โลกาธิปไตย : ความถือโลกเป็นใหญ่ คือ ถือความนิยมหรือเสียงกล่าวว่า ของชาวโลกเป็นสำคัญ หวั่นไหวไปตามเสียงนินทาและสรรเสริญ จะทำอะไรก็มุ่งจะเอาใจหมู่ชน หาความนิยม ทำตามที่เขานิยมกัน หรือคอยแต่หวั่นกลัวเสียงกล่าวว่า, พึงใช้แต่ในทางดีหรือในขอบเขตที่เป็นความดี คือ เคารพเสียงหมู่ชน (ข้อ ๒ ในอธิปไตย ๓)
  6. สุภัททะ : ปัจฉิมสิกขิสาวก (สาวกผู้ทันเห็นองค์สุดท้าย) ของพระพุทธเจ้า เรียกสั้นๆ ว่า ปัจฉิมสาวก เดิมเป็นพราหมณ์ตระกูลใหญ่ ต่อมาออกบวชเป็นปริพาชก อยู่ในเมืองกุสินารา ในวันที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน สุภัททปริพาชกได้ยินข่าวแล้วคิดว่าตนมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง อยากจะขอให้พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อแก้ข้อสงสัยนั้นเสียก่อนที่จะปรินิพพาน จึงเดินทางไปยังสาลวัน ตรงไปหาพระอานนท์ แจ้งความประสงค์ขอเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา พระอานนท์ได้ห้ามไว้ เพราะเกรงว่าพระองค์เหน็ดเหนื่อยอยู่แล้ว จะเป็นการรบกวนให้ทรงลำบาก สุภัททปริพาชกก็คะยั้นคะยอจะขอเข้าเฝ้าให้ได้ พระอานนท์ก็ยืนกรานห้ามอยู่ถึง ๓ วาระ จนพระผู้มีพระภาคทรงได้ยินเสียงโต้ตอบกันนั้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่าสุภัททะมุ่งหาความรู้ มิใช่ประสงค์จะเบียดเบียนพระองค์ ขอให้ปล่อยให้เขาเข้าเฝ้าเถิด สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าแล้ว ทูลถามว่า สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย คือ เหล่าครูทั้ง ๖ นั้น ล้วนได้ตรัสรู้จริงทั้งหมดตามที่ตนปฏิญญา หรือได้ตรัสรู้เพียงบางท่านหรือไม่มีใครตรัสรู้จริงเลย พระพุทธเจ้าทรงห้ามเสียและตรัสว่าจะทรงแสดงธรรม คือ หลักการหรือหลักความจริงให้ฟัง แล้วตรัสว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ หาไม่ได้ในธรรมวินัยใด สมณะ (คืออริยบุคคลทั้ง ๔) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยใด สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะทั้ง ๔ จึงมีในธรรมวินัยนี้ ลัทธิอื่นๆ ว่างจากสมณะ และตรัสสรุปว่า ถ้าภิกษุทั้งหลายเป็นอยู่โดยชอบ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย เมื่อจบพระธรรมเทศนา สุภัททปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธเจ้าตรัสสั่งพระอานนท์ให้บวชสุภัททะในสำนักของพระองค์ โดยประทานพุทธานุญาตพิเศษให้ยกเว้นไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาส ท่านสุภัททะบวชแล้วไม่นาน (อรรถกถาว่าในวันนั้นเอง) ก็ได้บรรลุอรหัตตผล นับเป็นพุทธปัจฉิมสักขิสาวก
  7. อธิษฐานธรรม : ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ, ธรรมเป็นที่มั่น มี ๔ อย่าง คือ ๑) ปัญญา ๒) สัจจะ ๓) จาคะ ๔) อุปสมะ (รู้จักหาความสงบใจ)
  8. อริยวัฑฒิ : ความเจริญอย่างประเสริฐ, หลักความเจริญของอารยชน มี ๕ คือ ๑) ศรัทธา ความเชื่อความมั่นใจในพระรัตนตรัย ในหลักแห่งความจริงความดีงามอันมีเหตุผลและในการที่จะทำความดีงาม ๒) ศีล ความประพฤติดี มีวินัย เลี้ยงชีพสุจริต ๓) สุตะ การเล่าเรียนสดับฟังศึกษาหาความรู้ ๔) จาคะ ความเผื่อแผ่เสียสละน้ำใจและในกว้าง พร้อมที่จะรับฟังและร่วมมือ ไม่คับแคบเอาแต่ตัว ๕) ปัญญา ความรอบรู้ รู้คิด รู้พิจารณา เข้าใจเหตุผล รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็นจริง
  9. อารยวัฒิ : ความเจริญอย่างประเสริฐ, หลักความเจริญของอารยชน มี ๕ คือ ๑) ศรัทธา ความเชื่อความมั่นใจในพระรัตนตรัย ในหลักแห่งความจริงความดีงามอันมีเหตุผลและในการที่จะทำความดีงาม ๒) ศีล ความประพฤติดี มีวินัย เลี้ยงชีพสุจริต ๓) สุตะ การเล่าเรียนสดับฟังศึกษาหาความรู้ ๔) จาคะ ความเผื่อแผ่เสียสละน้ำใจและในกว้าง พร้อมที่จะรับฟังและร่วมมือ ไม่คับแคบเอาแต่ตัว ๕) ปัญญา ความรอบรู้ รู้คิด รู้พิจารณา เข้าใจเหตุผล รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็นจริง

ETipitaka Pali-Thai Dict : หาความ, 4 found, display 1-4
  1. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  2. ปฏิสลฺลาน : นป. การหลีกเร้น, การปลีกตัวเพื่อหาความสงบ
  3. อนาวร : (วิ.) หาความขัดข้องมิได้, ไม่มีความขัดข้อง.
  4. อลกฺขี : (วิ.) หาความสวัสดีมิได้, มิใช่ความสวัสดี, ไม่มีสิริ, ไม่มีบุญ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หาความ, 1 found, display 1-1
  1. ผู้หาความสุข : สุเขสี

(0.0340 sec)