Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างมั่นคง, มั่นคง, อย่าง , then มนคง, มั่นคง, อยาง, อย่าง, อยางมนคง, อย่างมั่นคง .

Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างมั่นคง, more than 7 found, display 1-7
  1. fast 1 : (ADV) ; อย่างมั่นคง ; Related:อย่างแน่นอน, อย่างติดแน่น ; Syn:firmly, fixedly ; Ant:unsecurely
  2. firm 1 : (ADV) ; อย่างมั่นคง ; Related:อย่างเด็ดขาด, อย่างหนักแน่น ; Syn:firmly
  3. Eng-Thai Lexitron Dict : อย่างมั่นคง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างมั่นคง, more than 7 found, display 1-7
  1. อย่างมั่นคง : (ADV) ; stably ; Related:steadily ; Syn:อย่างถาวร, อย่างมั่นคงถาวร ; Def:อย่างไม่เปลี่ยนแปลง ; Samp:มหาตมะคานธียึดถือแนวทางอหิงสาอย่างมั่นคง
  2. มั่นคง : (V) ; be secure ; Related:be stable, be firm, be strong, be sturdy, be steadfast ; Syn:ปลอดภัย, เสถียร, ปึกแผ่น, หนักแน่น, สถิร ; Ant:โลเล, ไม่เที่ยง, โอนเอน, ผันแปร, คลอนแคลน ; Def:ไม่เปลี่ยนแปลงโดยง่าย ; Samp:หลายๆ คนในหน่วยงาน พยายามดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้ฐานะของตนมั่นคง
  3. มั่นคง : (V) ; be secure ; Related:be stable, be firm, be strong, be sturdy, be steadfast ; Syn:ปลอดภัย, เสถียร, ปึกแผ่น, หนักแน่น, สถิร ; Ant:โลเล, ไม่เที่ยง, โอนเอน, ผันแปร, คลอนแคลน ; Def:ไม่เปลี่ยนแปลงโดยง่าย ; Samp:หลายๆ คนในหน่วยงาน พยายามดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้ฐานะของตนมั่นคง
  4. อย่าง : (N) ; type ; Related:kind, sort ; Syn:ชนิด, สิ่ง ; Samp:โครงสร้างของสะพานรถไฟบางอย่างออกแบบไว้สำหรับการบรรทุกน้ำมันเครื่องเคมีที่เป็นของเหลวและปูนซีเมนต์
  5. อย่าง : (ADV) ; severely ; Related:extremely, seriously, comprehensively, greatly ; Def:เขียนหน้าคุณศัพท์เพื่อให้คุณศัพท์แสดงเป็นคำวิเศษณ์ขยายความคำคุณศัพท์ ; Samp:การกีดกันทางการค้านี้ก่อให้เกิดผลเสียอย่างมากต่อทั้งประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้า
  6. อย่าง : (N) ; method ; Related:way, means ; Syn:ทำนอง, วิธี, แบบ
  7. อย่างมั่นเหมาะ : (ADV) ; surely ; Related:fixedly, readily, certainly, definitely, absolutely ; Syn:เป็นมั่นเหมาะ, หนักแน่น, อย่างมั่นเหมาะ ; Ant:ไม่แน่นอน ; Def:อย่างมั่นคง, อย่างแน่ใจ ; Samp:เขารับปากอย่างมั่นเหมาะแล้วว่าจะไปกับพวกเรา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อย่างมั่นคง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างมั่นคง, more than 5 found, display 1-5
  1. มั่นคง : ว. แน่นหนาและทนทาน เช่น เก็บของไว้ในห้องนั้นมั่นคงดี; ไม่กลับกลายเป็นอย่างอื่น เช่น ใจคอมั่นคง.
  2. อย่าง : [หฺย่าง] น. วิธี, แบบ, เยี่ยง, เช่น ทำอย่างนี้ เขียนอย่างนั้น, ลักษณนาม บอกจำนวน หมายถึง ชนิด, สิ่ง, เช่น ทำกับข้าวไว้ ๒ อย่าง ทำงาน หลายอย่าง. ว. เหมือน เช่น อย่างใจ อย่างเคย, ใช้ประกอบคําวิเศษณ์ หมายความว่า โดยอาการที่ เช่น อย่างดี อย่างเข้มแข็ง.
  3. แข็งแรง : ว. มีกําลังมาก, ลํ่าสัน, มั่นคง, คงทน, อย่างเต็มกําลัง เช่น ทํางานแข็งแรง.
  4. ขยัน ๑ : [ขะหฺยัน] ก. ทําการงานอย่างแข็งขันไม่ปล่อยปละละเลย, ทําหรือ ประพฤติเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, ไม่เกียจคร้าน; แข็งแรง, เข้าที, เช่น เนื้อหนังขยันมั่นคงนัก. (อิเหนา), พอกํ้ากึ่งกลางนั้นขยันนัก. (เพลงยาวถวายโอวาท).
  5. ขวัญ : [ขฺวัน] น. ผมหรือขนที่ขึ้นเวียนเป็นก้นหอย; มิ่งมงคล, สิริ, ความดี, เช่น ขวัญข้าว ขวัญเรือน; สิ่งที่ไม่มีตัวตน เชื่อกันว่ามีอยู่ประจําชีวิตของคน ตั้งแต่เกิดมา ถ้าขวัญอยู่กับตัวก็เป็นสิริมงคล เป็นสุขสบายจิตใจมั่นคง ถ้าคนตกใจหรือเสียขวัญ ขวัญก็ออกจากร่างไป ซึ่งเรียกว่า ขวัญหาย ขวัญหนี ขวัญบิน เป็นต้น ทําให้คนนั้นได้รับผลร้ายต่าง ๆ, เรียกผู้ตกใจ ง่ายคือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ ว่า ขวัญอ่อน, และอนุโลม ใช้ไปถึงสัตว์หรือสิ่งของบางอย่าง เช่น ช้าง ม้า ข้าว เรือน ฯลฯ ว่ามีขวัญ เช่นเดียวกับคนเหมือนกัน, โดยปริยายหมายความว่า ยอดกำลังใจเช่น ขวัญเมือง ว่า ยอดกําลังใจของเมือง; กําลังใจดี เช่น ขวัญดี; ผู้รู้พิธีทําขวัญ เรียกว่า หมอขวัญ; การทําพิธีเชิญขวัญหมายความว่า เรียกขวัญ มาอยู่กับตัว; การเสียเงินค่าปรับให้แก่ผู้ถูกทําร้ายหรือถูกหมิ่นประมาท เรียกว่า ทำขวัญ; เอาเส้นด้ายผูกข้อมือเด็กแล้วกล่าวเรียก ขวัญว่า ``ขวัญเอ๋ย มาอยู่กับเนื้อกับตัว'' แล้วกล่าวให้พรต่อไปตามควร เรียกว่า ผูกขวัญ; เรียกขวัญหรือเชิญขวัญ เรียกว่า รับขวัญ; ทําพิธี เช่น รดนํ้ามนตร์ให้ เสกเป่าให้ หรือกล่าวปลุกใจต่าง ๆ เพื่อให้ขวัญดีมีใจกล้าหาญ เรียกว่า บำรุงขวัญ; สิ่งของที่ให้แก่เจ้าของขวัญ เมื่อเสร็จพิธีทําขวัญแล้ว หรือสิ่งของที่ให้กันในเวลาอื่นเป็นการถนอมขวัญ หรือเพื่ออัธยาศัยไมตรี เรียกว่า ของขวัญ; ข้าวบายศรี เรียกว่า ข้าวขวัญ; ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี เรียกว่า ไข่ขวัญ, ไข่ข้าว ก็เรียก; ลูกคนที่รักมากที่สุด เรียกว่า ลูกขวัญ; ผู้ที่เป็นมิ่งขวัญอย่างยอดเยี่ยมหมายถึง หญิงที่รัก เรียกว่า จอมขวัญ; คำยกย่องเรียกภรรยาอันเป็นที่รักว่า เมียขวัญ; กําลังใจเสีย เรียกว่า เสียขวัญ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างมั่นคง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อย่างมั่นคง, more than 5 found, display 1-5
  1. ที่สุด ๒ อย่าง : ข้อปฏิบัติที่ผิดพลาดไม่อาจนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ ๒ อย่าง คือ ๑.การประกอบตนให้พัวพันด้วยความสุขในกามทั้งหลาย เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ๒.การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า หรือการทรมานตนให้ลำบากเปล่า เรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
  2. ภาวนา : การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ 1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ ๑.สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ ๒.วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง, อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ ๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ ๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์ 2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ ๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน 3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
  3. สัปปายะ : สิ่ง สถาน หรือบุคคล ซึ่งเป็นที่สบาย เหมาะกัน เกื้อกูล หรือเอื้ออำนวยโดยเฉพาะที่ช่วยเกื้อกูลแก่การบำเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ ท่านแสดงไว้ ๗ อย่าง คือ อาวาส (ที่อยู่) โคจร (ที่บิณฑบาตหรือแหล่งอาหาร) ภัสสะ (เรื่องพูดคุยที่เสริมการปฏิบัติ) บุคคล (ผู้ที่เกี่ยวข้องด้วยแล้วช่วยให้จิตผ่องใสสงบมั่นคง) โภชนะ (อาหาร) อุตุ (สภาพแวดล้อมและอุณหภูมิ) อิริยาบถ; ทั้ง ๗ นี้ที่เหมาะกันเป็นสัปปายะ ที่ไม่สบายเป็นอสัปปายะ
  4. อินทรีย์ : ความเป็นใหญ่, สภาพที่เป็นใหญ่ในกิจของตน, ธรรมที่เป็นเจ้าการในการทำหน้าที่อย่างหนึ่งๆ เช่น ตาเป็นใหญ่หรือเป็นเจ้าการในการเห็น หูเป็นใหญ่ในการได้ยิน ศรัทธาเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งความไร้ศรัทธาเป็นต้น 1) อินทรีย์ ๖ ได้แก่ อายตนะภายใน ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 2) อินทรีย์ ๕ ตรงกับ พละ ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ธรรม ๕ อย่างชุดเดียวกันนี้ เรียกชื่อต่างกันไป ๒ อย่าง ตามหน้าที่ที่ทำ คือ เรียกชื่อว่า พละ โดยความหมายว่า เป็นกำลังทำให้เกิดความเข้มแข็งมั่นคง ซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างจะเข้าครอบงำไม่ได้ เรียกชื่อว่า อินทรีย์ โดยความหมายว่าเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างคือความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่าน และความหลงงมงาย ตามลำดับ
  5. เยี่ยง : อย่าง, แบบ, เช่น
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อย่างมั่นคง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างมั่นคง, more than 5 found, display 1-5
  1. พาฬฺห : อ. อย่างแข็งแรง, อย่างมั่นคง, อย่างมากมาย, อย่างหนักแน่น
  2. เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
  3. ทฬฺห : อ. อย่างมั่นคง, อย่างแข็งแรง
  4. อนวรต : ก. วิ. อย่างมั่นคง, เนืองๆ
  5. ทฬฺหทตฺตี : ค. มีความภักดีมั่นคง, จงรักภักดีเป็นอย่างมาก
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างมั่นคง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อย่างมั่นคง, 10 found, display 1-10
  1. การหัวเราะอย่างครื้นเครง : อฏฺฏหาส [ป.]
  2. เป็นแบบอย่าง : ทิฏฺฐานุคติกา
  3. พยายามอย่างหนัก : ทฬฺหปรกฺกโม
  4. พระทัยมั่นคง : สมาหิตจิตโต
  5. มีใจมั่นคง : สมาหิตจิตฺโต
  6. มีสติมั่นคง : ปฏิสฺสต
  7. รับรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง : สพฺพหารก
  8. อยู่อย่างเดียวดาย : เอกโก
  9. อยู่อย่างมีคุณธรรม : วิหรติ
  10. เอาใจใส่อย่างดี : สเมน ธมฺเมน รกฺขิตํ โหติ โคปิตํ

(0.5274 sec)