Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มั่นคง , then มนคง, มั่นคง .

Eng-Thai Lexitron Dict : มั่นคง, more than 7 found, display 1-7
  1. stabilize : (VI) ; มั่นคง ; Related:มีเสถียรภาพ ; Syn:secure, steady
  2. steady : (ADJ) ; มั่นคง ; Related:แน่วแน่, ซึ่งไม่สั่นคลอน ; Syn:cool, poised, steadfast
  3. Eng-Thai Lexitron Dict : มั่นคง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : มั่นคง, more than 7 found, display 1-7
  1. มั่นคง : (V) ; be secure ; Related:be stable, be firm, be strong, be sturdy, be steadfast ; Syn:ปลอดภัย, เสถียร, ปึกแผ่น, หนักแน่น, สถิร ; Ant:โลเล, ไม่เที่ยง, โอนเอน, ผันแปร, คลอนแคลน ; Def:ไม่เปลี่ยนแปลงโดยง่าย ; Samp:หลายๆ คนในหน่วยงาน พยายามดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้ฐานะของตนมั่นคง
  2. มั่นคง : (V) ; be secure ; Related:be stable, be firm, be strong, be sturdy, be steadfast ; Syn:ปลอดภัย, เสถียร, ปึกแผ่น, หนักแน่น, สถิร ; Ant:โลเล, ไม่เที่ยง, โอนเอน, ผันแปร, คลอนแคลน ; Def:ไม่เปลี่ยนแปลงโดยง่าย ; Samp:หลายๆ คนในหน่วยงาน พยายามดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้ฐานะของตนมั่นคง
  3. ไม่มั่นคง : (V) ; be unsteady ; Related:be unstable, be changeable, be variable, be inconstant ; Ant:มั่นคง ; Samp:ความวิตกกังวลใจเป็นผลจากความรู้สึกไม่มั่นคงอย่างใดอย่างหนึ่งในชีวิต
  4. ซวดเซ : (V) ; be unsteady ; Related:be unstable ; Syn:ไม่มั่นคง, เสียหลัก, ซวนเซ ; Ant:มั่นคง ; Def:เสียหลัก ไม่มั่นคงดังเดิม ; Samp:ฐานะทางเศรษฐกิจของเขาเริ่มจะซวดเซ
  5. วอกแวก : (V) ; wander ; Related:be distracted ; Syn:ขาดสมาธิ, ไม่มั่นคง ; Ant:มั่นคง ; Def:ไม่มีสมาธิ, จิตใจไม่แน่นอน ; Samp:ขณะทำข้อสอบต้องมีสมาธินะ อย่าวอกแวกเป็นอันขาด
  6. โอนเอน : (V) ; sway ; Related:be unsteady, be capricious ; Ant:มั่นคง ; Def:เอนไปเอนมา, ไม่มั่นคง, ไม่แน่นอน ; Samp:ศาลาแห่งนี้จะยุบพังลงได้ในทันที เสาใหญ่สี่ต้นบิดเอี๊ยดโอนเอนอย่างน่ากลัว
  7. โอนเอน : (ADJ) ; swaying ; Related:unsteady, capricious ; Ant:มั่นคง ; Def:เอนไปเอนมา, ไม่มั่นคง, ไม่แน่นอน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : มั่นคง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : มั่นคง, more than 5 found, display 1-5
  1. มั่นคง : ว. แน่นหนาและทนทาน เช่น เก็บของไว้ในห้องนั้นมั่นคงดี; ไม่กลับกลายเป็นอย่างอื่น เช่น ใจคอมั่นคง.
  2. แข็งแรง : ว. มีกําลังมาก, ลํ่าสัน, มั่นคง, คงทน, อย่างเต็มกําลัง เช่น ทํางานแข็งแรง.
  3. ทน : ก. อดกลั้นได้, ทานอยู่ได้, เช่น ทนด่า ทนทุกข์ ทนหนาว, ไม่แตกหัก หรือบุบสลายง่าย เช่น ของดีใช้ทน ไม้สักทนกว่าไม้ยาง. ว. แข็งแรง, มั่นคง, เช่น ฟันทน, อึด เช่น วิ่งทน ดํานํ้าทน.
  4. ธีร, ธีระ : [ทีระ] น. นักปราชญ์. ว. ฉลาด, ไหวพริบ, มีปัญญา, ชํานาญ. (ป.); มั่นคง, แข็งแรง. (ส.).
  5. ยง ๒ : ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : มั่นคง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : มั่นคง, 10 found, display 1-10
  1. สถาพร : มั่นคง, ยั่งยืน, ยืนยง
  2. จิตตคฤหบดี : ชื่ออุบาสกคนหนึ่ง มีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนา ได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในบรรดาอุบาสกธรรมกถิก; ท่านผู้นี้เคยถูกภิกษุชื่อสุธรรมด่า เป็นเหตุให้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติปฏิสาราณียกรรมคือการลงโทษภิกษุผู้ด่าว่าคฤหัสถ์ที่ไม่มีความผิด ด้วยการให้ไปขอขมาเขา
  3. ธิติ : 1.ความเพียร, ความเข้มแข็งมั่นคง, ความหนักแน่น, ความอดทน 2.ปัญญา
  4. นกุลบิดา : “พ่อของนกุล”, คฤหบดี ชาวเมืองสุงสุมารคีรี ในแคว้นภัคคะ มีภรรยาชื่อ นกุลมารดา สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าเสด็จมายังเมืองสุงสุมารคีรี ประทับที่ป่าเภสกลาวัน ท่านคฤหบดีและภรรยาไปเฝ้าพร้อมกับชาวเมืองคนอื่นๆ พอได้เห็นครั้งแรก ทั้ง ๒ สามีภรรยาก็เกิดความรู้สึกสนิทหมายใจเหมือนว่าพระพุทธเจ้าเป็นบุตรของตน ได้เข้าไปถึงพระองค์และแสดงความรู้สึกนั้น พระพุทธเจ้าได้แสดงธรรมโปรด ทั้ง ๒ ท่านได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน ท่านนกุลบิดาและนกุลมารดานี้ เป็นคู่สามีภรรยาตัวอย่าง ผู้มีความจงรักภักดีต่อกันอย่างบริสุทธิ์และมั่นคงยั่งยืน ตราบเท่าชรา ทั้งยังปรารถนาจะพบกันทั้งชาตินี้และชาติหน้า เคยทูลขอให้พระพุทธเจ้าแสดงหลักธรรมที่จะทำให้สามีภรรยาครองรักกันยั่งยืนตลอดไปทั้งภพนี้และภพหน้า เมื่อท่านนกุลบิดาเจ็บป่วยออดแอดร่างกายอ่อนแอ ไม่สบายด้วยโรคชรา ท่านได้ฟังพระธรรมเทศนาครั้งหนึ่ง ที่ท่านประทับใจมากคือ พระดำรัสที่แนะนำให้ทำใจว่า “ถึงแม้ร่างกายของเราจะป่วย แต่ใจของเราจะไม่ป่วย” ท่านนกุลบิดาได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าให้เป็นเอตทัคคะในบรรดาอุบาสกผู้สนิทสนมคุ้นเคย (วิสสาสิกะ)
  5. ภาวนา : การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ 1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ ๑.สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ ๒.วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง, อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ ๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ ๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์ 2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ ๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน 3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
  6. สัปปายะ : สิ่ง สถาน หรือบุคคล ซึ่งเป็นที่สบาย เหมาะกัน เกื้อกูล หรือเอื้ออำนวยโดยเฉพาะที่ช่วยเกื้อกูลแก่การบำเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ ท่านแสดงไว้ ๗ อย่าง คือ อาวาส (ที่อยู่) โคจร (ที่บิณฑบาตหรือแหล่งอาหาร) ภัสสะ (เรื่องพูดคุยที่เสริมการปฏิบัติ) บุคคล (ผู้ที่เกี่ยวข้องด้วยแล้วช่วยให้จิตผ่องใสสงบมั่นคง) โภชนะ (อาหาร) อุตุ (สภาพแวดล้อมและอุณหภูมิ) อิริยาบถ; ทั้ง ๗ นี้ที่เหมาะกันเป็นสัปปายะ ที่ไม่สบายเป็นอสัปปายะ
  7. อธิจิตตสิกขา : การศึกษาในอธิจิตต์, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมจิต เพื่อให้เกิดสมาธิอย่างสูง, การฝึกฝนอบรมจิต เพื่อให้เกิดสมาธิอย่างสูง, การฝึกฝนอบรมจิตในให้เข้มแข็งมั่นคงมีคุณธรรม เช่น ขันติ เมตตา กรุณา สดชื่น เบิกบาน เป็นสุข ผ่องใส เหมาะแก่การใช้ความคิดพิจารณา เป็นฐานแห่งการเจริญปัญญา (ข้อ ๒ ในสิกขา ๓ หรือไตรสิกขา) เรียกกันง่ายๆ ว่า สมาธิ
  8. อธิษฐาน : 1) ในทางพระวินัย แปลว่า การตั้งเอาไว้หรือตั้งใจกำหนดเอาไว้ คือ ตั้งเอาไว้เป็นของนั้นๆ หรือตั้งใจกำหนดเอาไว้ว่าจะใช้เป็นของประจำ ตัวชนิดนั้นๆ เช่น ได้ผ้ามาผืนหนึ่ง ตั้งใจว่าจะใช้เป็นอะไร คือจะเป็นสังฆาฏิ อุตตราสงค์ อันตรวาสก ก็อธิษฐานเป็นอย่างนั้นๆ เมื่ออธิษฐานแล้ว ของนั้นเรียกว่าเป็นของอธิษฐาน เช่น เป็นสังฆาฏิอธิษฐาน จีวรอธิษฐาน (นิยมเรียกกันว่า จีวรครอง) ตลอดจนบาตรอธิษฐาน ส่วนของชนิดนั้น ที่ได้เพิ่มมาอีกหรือเกินจากนั้นไปก็เป็นอติเรก เช่น เป็นอติเรกจีวร อติเรกบาตร, คำอธิษฐาน เช่น “อิมํ สงฺฆาฏึ อธิฏฺามิ” (ถ้าอธิษฐานของอื่น ก็เปลี่ยนไปตามชื่อของนั้น เช่น เป็น อุตฺตราสงฺคํ, อนฺตรวาสกํ เป็นต้น) 2) ความตั้งใจมั่น, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว, ความมั่นคง เด็ดเดี่ยว แน่วแน่ในทางดำเนินและจุดมุ่งหมายของตน (ข้อ ๘ ในบารมี ๑๐), ในภาษาไทยมักใช้ในความหมายว่า ความตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ความตั้งจิตปรารถนา
  9. อเนญชาภิสังขาร : สภาพที่ปรุงแต่งภพอันมั่นคง ไม่หวั่นไหว ได้แก่ ภาวะจิตที่มั่นคงแน่วแน่ด้วยสมาธิแห่งจตุตถฌาน (ข้อ ๓ ในอภิสังขาร ๓); ตามหลักเขียน อาเนญชาภิสังขาร
  10. อินทรีย์ : ความเป็นใหญ่, สภาพที่เป็นใหญ่ในกิจของตน, ธรรมที่เป็นเจ้าการในการทำหน้าที่อย่างหนึ่งๆ เช่น ตาเป็นใหญ่หรือเป็นเจ้าการในการเห็น หูเป็นใหญ่ในการได้ยิน ศรัทธาเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งความไร้ศรัทธาเป็นต้น 1) อินทรีย์ ๖ ได้แก่ อายตนะภายใน ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 2) อินทรีย์ ๕ ตรงกับ พละ ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ธรรม ๕ อย่างชุดเดียวกันนี้ เรียกชื่อต่างกันไป ๒ อย่าง ตามหน้าที่ที่ทำ คือ เรียกชื่อว่า พละ โดยความหมายว่า เป็นกำลังทำให้เกิดความเข้มแข็งมั่นคง ซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างจะเข้าครอบงำไม่ได้ เรียกชื่อว่า อินทรีย์ โดยความหมายว่าเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างคือความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่าน และความหลงงมงาย ตามลำดับ

ETipitaka Pali-Thai Dict : มั่นคง, more than 5 found, display 1-5
  1. กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
  2. เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
  3. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  4. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  5. ถวิร : ค. ถาวร, มั่นคง, แข็งแรง, แก่
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : มั่นคง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มั่นคง, 3 found, display 1-3
  1. พระทัยมั่นคง : สมาหิตจิตโต
  2. มีใจมั่นคง : สมาหิตจิตฺโต
  3. มีสติมั่นคง : ปฏิสฺสต

(0.1399 sec)