Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เก้อเขิน, เขิน, เก้อ , then กอ, กอขน, เก้อ, เก้อเขิน, ขน, เขิน .

Eng-Thai Lexitron Dict : เก้อเขิน, more than 7 found, display 1-7
  1. flush up : (PHRV) ; เขินจนหน้าแดง ; Related:อายจนหน้าแดง ; Syn:colour up, flame up
  2. embarrassed : (ADJ) ; ซึ่งลำบากใจ ; Related:ซึ่งอับอาย, ซึ่งกระดากอาย, ซึ่งขัดเขิน, ซึ่งเก้อเขิน ; Syn:ashamed, humiliated
  3. blush : (VI) ; อาการหน้าแดงเพราะเขินอาย ; Related:เขินอาย, ละอาย ; Syn:flush
  4. blush : (N) ; การหน้าแดงเพราะเขินอาย ; Syn:redden, flush
  5. coyness : (N) ; ความเขินอาย
  6. lighter 2 : (N) ; เรือขนส่งสินค้าจากเรือใหญ่ (ใช้ในระยะทางสั้นๆ ที่ตื้นเขิน) ; Syn:barge, vessel
  7. pudency : (N) ; ความขวยเขิน ความเขินอาย
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เก้อเขิน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เก้อเขิน, more than 7 found, display 1-7
  1. เก้อเขิน : (V) ; shy ; Related:be awkward, be abashed, shame, be bashful ; Syn:เขิน, อาย, กระดาก, ขัดเขิน, เคอะเขิน, ขวยเขิน ; Samp:เขาตั้งใจอธิบายมากเกินไปจนเก้อเขิน และพูดตะกุกตะกัก
  2. เก้อ : (V) ; embarrass ; Related:disconcert, frustrate, abash, faze ; Syn:เขิน, อาย, กระดาก, เคอะเขิน, เก้อเขิน ; Samp:เมื่อพบกันทีนี้ผมจะไม่เก้อจนเกินไปเพราะมีสิ่งที่เป็นสื่อให้เราได้ทำความรู้จักกัน
  3. เก้อ : (V) ; be embarrassed ; Related:be ill at ease, feel awkward, be fazed, be abashed, be discomfited ; Syn:อาย, กระดาก, เก้อเขิน ; Samp:เธอไม่เข้าใจที่เขาพูดเลยแต่ไม่ทักท้วง เพราะเกรงว่าเขาจะเก้อ
  4. เขิน : (V) ; be shallow ; Related:be high and dry ; Syn:ตื้นเขิน ; Def:ตื้นสูงเป็นเนินขึ้นมา (ใช้แก่พื้นที่ในแม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง เป็นต้น) ; Samp:ที่ตรงนี้มันเขินขึ้นมาท้องเรือของเราก็เลยติด
  5. เขิน : (V) ; be shallow (because of silt and sediment) ; Related:high and dry ; Syn:ตื้นเขิน ; Def:ตื้นสูงเป็นเนินขึ้นมา (ใช้แก่พื้นที่ในแม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง เป็นต้น) ; Samp:ที่ตรงนี้มันเขินขึ้นมา ท้องเรือของเราก็เลยติด
  6. เก้อ : (ADV) ; wastefully ; Related:vainly, uselessly ; Syn:เสียเวลาเปล่า ; Def:รู้สึกผิดคาดผิดหวัง ; Samp:วันนี้ผมรอเก้อ เพราะเธอไม่ได้กลับมากับรถของมหาวิทยาลัย
  7. เขิน : (V) ; shy ; Related:abash, embarrass ; Syn:อาย, กระดาก, ขวยเขิน, เคอะเขิน ; Ant:หน้าด้าน ; Def:วางหน้าไม่สนิทหรือเข้ากันไม่สนิทเพราะรู้สึกกระดากอาย ; Samp:เจ้าสาวเขินเจ้าบ่าวเมื่อเพื่อนๆ ขอร้องให้หอมแก้ม
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เก้อเขิน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เก้อเขิน, more than 5 found, display 1-5
  1. เก้อเขิน : ว. อาการที่วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย.
  2. เก้อ : ว. แสดงสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทําอะไรผิดพลาดไป เช่น ทําหน้าเก้อ, รู้สึกผิดคาดผิดหวัง เช่น ไปเก้อ คอยเก้อ, ผิดแผกไปจากผู้อื่นเขาหรือแต่งตัวรอจะไปงานแล้วไม่ได้ไป เช่น แต่งตัวเก้อ; กระดาก, อาย, เช่น ทําแก้เก้อ; ขัดเขินหรือค้างอยู่ เพราะไม่เข้ากัน ไม่รับกัน เช่น รําเก้อ เรือนหลังนี้ทําไม่ได้ส่วนดูเก้อ ข้อความที่เขียนไว้เก้อไม่รับกัน.
  3. เขิน ๓, เขิน : ว. วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย; เข้ากันไม่สนิท เช่น ข้อความ ตอนนี้ฟังเขิน ๆ อยู่.
  4. วุ้ย : อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกตกใจ เก้อเขิน หรือไม่พอใจ เป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง) เช่น วุ้ย น่ารำคาญ.
  5. เขิน : น. ชื่อคนไทยใหญ่เผ่าหนึ่ง ส่วนมากอยู่ในแคว้นฉาน ประเทศพม่า; เครื่องสานที่ทำจากผิวไม้ไผ่ ซึ่งนำมาเรียดแล้วทำเป็นโครง ฉาบด้วย รักสมุกหรือรักชาดเพื่อกันน้ำรั่วซึม ไทยได้รับวิธีการทำมาจากไทยเขิน ซึ่งอยู่ในยูนนานตอนใต้ จึงเรียกว่า เครื่องเขิน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เก้อเขิน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เก้อเขิน, more than 5 found, display 1-5
  1. อภิณหปัจจเวกขณ์ : ข้อที่ควรพิจารณาเนืองๆ, เรื่องที่ควรพิจารณาทุกๆ วัน มี ๕ อย่าง คือ ๑) ควรพิจารณาทุกวันๆ ว่า เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒) ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ ๓) ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔) ว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๕) ว่าเรามีกรรมเป็นของตัว เราทำดีจักได้ดี เราทำชั่วจักได้ชั่ว; อีกหมวดหนึ่ง สำหรับบรรพชิต แปลว่า ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง (ปัพพชิตอภิรหปัจจเวกขณ์) คือ ๑) บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า บัดนี้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว ๒) ว่า การเลี้ยงชีพของเราเนื่องด้วยผู้อื่น ๓) ว่าเรามีอากัปกิริยาอย่างอื่นที่จะพึงทำ ๔) ว่า ตัวเราเองยังติเตียนตัวเราเองโดยศีลไม่ได้อยู่หรือไม่ ๕) ว่าเพื่อนพรหมจรรย์ผู้เป็นวิญญู ใคร่ครวญแล้ว ยังติเตียนเราโดยศีลไม่ได้อยู่หรือไม่ ๖) ว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๗) ว่าเรามีกรรมเป็นของตน เราทำดีจักได้ดี เราทำชั่วจักได้ชั่ว ๘) ว่า วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่ ๙) ว่า เรายินดีในที่สงัดอยู่หรือไม่ ๑๐) ว่า คุณวิเศษที่เราบรรลุแล้วมีอยู่หรือไม่ ที่จะทำให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน เมือถูกเพื่อนบรรพชิตถามในกาลภายหลัง (ข้อ ๑ ท่านเติมท้ายว่าอาการกิริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ ข้อ ๒) เติมว่าเราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย ข้อ ๗) ท่านเขียนว่า อาการกายวาจาอย่างอื่นที่เราจะต้องทำให้ดีขึ้น ไปกว่านี้ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี้)
  2. โลมะ : ขน
  3. โลมา : ขน
  4. ตจปัญจกกัมมัฏฐาน : กัมมัฏฐานมีหนังเป็นที่คำรบ ๕, กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กัมมัฏฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนของร่างกาย ๕ อย่าง คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง โดยความเป็นของปฏิกูล หรือโดยความเป็นสภาวะอย่างหนึ่งๆ ตามที่มันเป็นของมัน ไม่เอาใจเข้าไปผูกพันแล้วคิดวาดภาพใฝ่ฝันตามอำนาจกิเลส พจนานุกรมเขียน ตจปัญจกกรรมฐาน เรียกอีกอย่างว่า มูลกัมมัฏฐาน (กัมมัฏฐานเบื้องต้น)
  5. ทวัตติงสาการ : อาการ ๓๒, ส่วนประกอบที่มีลักษณะต่างๆ กัน ๓๒ อย่าง ในร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า (อุจจาระ) มันสมอง ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร (ปัสสาวะ); ในขุททกปาฐะ (ฉบับสยามรัฐ) เรียงลำดับมันสมองไว้เป็นข้อสุดท้าย; ทวัตดึงสาการ หรือ ทวดึงสาการ ก็เขียน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เก้อเขิน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เก้อเขิน, more than 5 found, display 1-5
  1. มงฺกุภูต : (วิ.) เป็นผู้เก้อเป็นแล้ว, ผู้เก้อเขิน.
  2. อุจฺจ : (วิ.) สูง, ระหง (สูงโปร่ง สูงสะโอดสะอง), เขิน (สูง). วิ. อุจิโนตีติ อุจฺโจ. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ. แปลง อิ เป็น ย รวมเป็น จฺย แปลง จฺย เป็น จฺจ ส. อุจฺจ.
  3. กุนที กุนฺนที : (อิต.) แม่น้ำน้อย, แม่น้ำเขิน, ลำธาร. วิ. กุ ขุทฺทกา นที กุนที กุนฺนที วา.
  4. ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
  5. ทุมฺมงฺกุ : (วิ.) เก้อยาก, ละอายยาก, ไม่มีความละอาย. ทุ+มงฺกุ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เก้อเขิน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เก้อเขิน, more than 5 found, display 1-5
  1. เขิน : มงฺกุ
  2. เขินอาย : ลชฺชา [อิ.]
  3. ขน : โลมา
  4. กอบัว : ปทุมนิคจฺฉานิ;
  5. กอบัวขาว : กุมุทวนํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เก้อเขิน, more results...

(0.2056 sec)