Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ละอาย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ละอาย, more than 7 found, display 1-7
  1. guilty : (ADJ) ; ซึ่งสำนึกผิด ; Related:ละอาย ; Syn:remorseful, ashamed, sorry ; Ant:free from guilt
  2. blush for : (PHRV) ; ละอายในเรื่อง
  3. blush : (VI) ; อาการหน้าแดงเพราะเขินอาย ; Related:เขินอาย, ละอาย ; Syn:flush
  4. ashamed : (ADJ) ; ซึ่งละอายใจ ; Related:ที่รู้สึกผิด ; Syn:humiliated, mortified ; Ant:proud
  5. ashamedness : (N) ; ความละอาย ; Syn:embarrassment, shamefacedness
  6. baldfaced : (ADJ) ; อย่างไม่ละอาย (คนชอบเล่าเรื่องโกหกโดยไม่ละอาย) ; Related:คนโกหก ; Syn:brazen, shameless, barefaced
  7. chutzpa : (ADJ) ; ที่ไม่ละอาย ; Syn:shameless
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ละอาย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ละอาย, more than 7 found, display 1-7
  1. ละอายใจ : (V) ; be ashamed ; Related:feel shame, be timid, be shy, be bashful ; Syn:ละอาย ; Def:รู้สึกอายในความชั่วที่จะกระทำ, ได้สำนึกผิดในความชั่วที่ทำไว้ ; Samp:ผมทนละอายใจที่จะต้องขอทานเขากินไม่ไหว
  2. ความละอาย : (N) ; ashamedness ; Related:humiliation, mortification ; Syn:ความอาย ; Def:ความรู้สึกอายในความชั่วที่จะกระทำ หรือได้สำนึกผิดในความชั่วที่ทำไว้ ; Samp:ความละอายต่อบาปทำให้ผมไม่กล้าทำชั่ว
  3. ความละอายใจ : (N) ; shame ; Related:abashment, embarrassment, ignominy, mortification, mortification ; Def:ความรู้สึกอายในความชั่วที่จะกระทำ, ความสำนึกผิดในความชั่วที่ทำไว้ ; Samp:บางครั้งเราเกิดความละอายใจเมื่อเรารู้สึกว่าผู้อื่นมองเห็นส่วนไม่ดีของตัวเรา
  4. งามหน้า : (V) ; be disgraceful ; Related:be shameful, be inglorious, be dishonorable, be ignominious ; Syn:ขายหน้า, ละอาย, น่าละอาย, อับอาย ; Ant:น่าภาคภูมิใจ, น่ายกย่อง, น่าชมเชย, น่าสรรเสริญ ; Def:น่าขายหน้า, เป็นคำประชดในทางไม่ดี เช่นไปทำเสียหายมาแล้วพูดว่า งามหน้าละคราวนี้ ; Samp:ลูกสาวผู้ใหญ่วงศ์หอบผ้าหนีตามผู้ชายไป งามหน้าละคราวนี้
  5. ภาคภูมิใจ : (V) ; take pride in ; Related:be proud of, have a sense of pride ; Syn:ภูมิใจ, ชื่นชม ; Ant:ละอาย, อาย ; Samp:ชาวจีนต่างภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ของประเทศที่มีมายาวนานถึง 5,000 ปี
  6. ภาคภูมิใจ : (ADV) ; proudly ; Syn:ภูมิใจ, ชื่นชม ; Ant:ละอาย, อาย ; Samp:บรรพบุรุษของไทยสามารถต่อสู้และปกป้องอธิปไตยไว้ได้อย่างน่าภาคภูมิใจในอดีตกาล
  7. กระดากใจ : (V) ; be ashamed ; Related:be abashed, be embarrassed, be disconcerted, be humiliated ; Syn:ละอายใจ ; Def:ไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทำเพราะรู้สึกอับอาย ; Samp:ผมกระดากใจมากที่ทำงานให้แก่ประชาชนน้อยเกินไป
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ละอาย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ละอาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ละอาย : ก. รู้สึกอายที่จะทำสิ่งไม่ถูกไม่ควร เช่น ละอายที่จะทำผิด, ละอายใจ ก็ว่า.
  2. ขายหู : ก. ฟังแล้วละอาย ไม่อยากฟัง.
  3. คิด : ก. ทําให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ; ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, เช่น เรื่องนี้ยากยังคิดไม่ออก; คาดคะเน เช่น คิดว่าเย็นนี้ฝนอาจจะตก; คํานวณ เช่น คิดเลขในใจ; มุ่ง, จงใจ, ตั้งใจ, เช่น อย่าคิดร้ายเขาเลย; นึก เช่น คิดละอาย.
  4. บาง ๑ : น. ทางนํ้าเล็ก ๆ, ทางนํ้าเล็กที่ไหลขึ้นลงตามระดับนํ้าในแม่นํ้า ลําคลอง หรือทะเล; ตําบลบ้านที่อยู่หรือเคยอยู่ริมบางหรือใน บริเวณที่เคยเป็นบางมาก่อน, โดยปริยายหมายถึงทั้งหมู่ เช่น ฆ่าล้างบาง ย้ายล้างบาง. ว. มีส่วนสูงน้อยจากผิวพื้น, ไม่หนา, มีความหนาน้อย, เช่น มีดบาง ผ้าบาง, โดยปริยายหมายถึง ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ผสมสุราแต่น้อย ๆ ไม่เข้มข้น เรียกว่า ผสมแต่บาง ๆ, แทงลูกบิลเลียดไปถูกอีกลูกหนึ่งเพียงผิว ๆ เรียกว่า แทงบางไป, เรียกผู้ที่มีผมน้อยกว่าปรกติว่า ผมบาง, เรียกผู้ ที่อายง่ายกว่าปรกติ คือไม่ควรละอาย กลับอายว่า หน้าบาง, ตรงข้าม กับ หน้าหนา, เรียกผู้ที่มีรูปร่างอ้อนแอ้นสะโอดสะองว่า เอวเล็ก เอวบาง หรือเอวบางร่างน้อย, เรียกคนอ่อนแอทนความลําบากไม่ได้ เพราะไม่เคยชินว่า คนผิวบาง.
  5. ประเจิดประเจ้อ : ว. อาการกระทําที่ถือกันว่าน่าละอายหรือ ไม่บังควรให้คนอื่นเห็น.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ละอาย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ละอาย, 8 found, display 1-8
  1. เทวธรรม : ธรรมของเทวดา, ธรรมที่ทำให้เป็นเทวดา หมายถึงธรรม ๒ อย่าง คือ หิริ ความละอายแก่ใจคือละอายต่อความชั่ว และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวบาป คือ เกรงกลัวต่อความชั่ว
  2. ธรรมเป็นโลกบาล ๒ : คือ ๑.หิริ ความละอายแก่ใจ ๒.โอตตัปปะ ความกลัวบาป ดู โลกบาลธรรม
  3. ลัชชินี : หญิงผู้มีความละอายต่อบาป เป็นอิตถีลิงค์ ถ้าเป็นปุงลิงค์ เป็นลัชชี
  4. ลัชชีธรรม : ธรรมแห่งบุคคลผู้ละอายต่อบาป
  5. โลกบาลธรรม : ธรรมคุ้มครองโลก คือ ปกครองควบคุมใจมนุษย์ไว้ให้อยู่ในความดี มิให้ละเมิดศีลธรรม และให้อยู่กันด้วยความเรียบร้อยสงบสุข ไม่เดือนร้อนสับสนวุ่นวาย มี ๒ คือ ๑.หิริ ความละอายบาป ละอายใจต่อการทำความชั่ว ๒.โอตตัปปะ ความกลัวบาป เกรงกลัวต่อความชั่วและผลของกรรมชั่ว
  6. หิริ : ความละอายแก่ใจ คือละอายต่อความชั่ว (ข้อ ๑ ในธรรมคุ้มครองโลก ๒, ข้อ ๓ ในอริยทรัพย์ ๗, ข้อ ๒ ในสัทธรรม ๗)
  7. อลชฺชิตา : อาการที่จะต้องอาบัติด้วยไม่ละอาย
  8. อลัชชี : ผู้ไม่มีความละอาย, ผู้หน้าด้าน, ภิกษุผู้มักประพฤติละเมิดพุทธบัญญัติ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ละอาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ลชฺชติ : ก. อาย, ละอาย
  2. หิริยติ : ก. ละอาย
  3. โกปีนนิทฺทสนี : ค. เป็นเหตุไม่รู้จักละอาย
  4. ทุมฺมงฺกุ : (วิ.) เก้อยาก, ละอายยาก, ไม่มีความละอาย. ทุ+มงฺกุ.
  5. นิลชฺช : (วิ.) มีความสะอาดแล้ว, มีความกระดากออกแล้ว, ฯลฯ, หมดความละอาย, หมดความกระดาก, หน้าด้าน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ละอาย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ละอาย, 2 found, display 1-2
  1. ละอาย : ลชฺชติ, หรายติ, หิริต, หิรียติ
  2. ละอายใจ : หิริ [อิ.]

(0.0366 sec)