Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เชาวน์ปัญญา, เชาวน์, ปัญญา , then ชาวนปญญา, เชาวน์, เชาวน์ปัญญา, บัญญา, เบญญา, ปญญา, ปญฺญา, ปัญญะ, ปัญญา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เชาวน์ปัญญา, 143 found, display 1-50
  1. ปญฺญา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
  2. ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  3. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  4. ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
  5. เมธา : (อิต.) ความรู้, ความฉลาด, ความฉลาดรอบคอบ, ปัญญา, ปัญญาเครื่องกำจัดกิเลส, ปรีชา. วิ. วิเลเสเมธตีติเมธา (กำจัด กิเลส). เมธฺ หึสายํ, อ. เมธาติ สิริยาติ วา เมธา (ไปกันด้วยความดี). เมธฺ สงฺคเม. สุขุมมฺปิ อตฺถํ ธมฺมญฺจ ขิปฺป เมว เมตีติ เมธา (ถือเอาผลและเหตุอันสุขุมพลัน). เม อาทาเน, โธ.
  6. อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
  7. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  8. ทุปญฺญ ทุปฺปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญา ทราม, มีปัญญาเสีย. วิ ทุฏฺฐา ปญฺญา ยสฺส โส ทุปญฺโญ ทุปฺปญฺโญ วา.
  9. ธีมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มีปัญญา. วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีมา. มนฺตุ ปัจ.
  10. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  11. มหาปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญามาก วิ. มหตี ปญฺญา ยสฺส โส มหาปญฺโญ.
  12. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  13. ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
  14. ธมฺมปฏิสมฺภิณาฌ : (นปุ.) ความรู้ (ปัญญา) อันแตกฉานในเหตุที่ทำให้เกิด ผล
  15. ธิ : (อิต.) คุณชาติผู้ทรงไว้ซื่งประโยชน์, ปรีชา, ปัญญา. วิ. อตฺถํ ธาเรตีติ ธิ. ธา ธารเณ, อิ.
  16. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  17. โธนา : (อิต.) ปัญญาชื่อว่าโธนา, ปัญญา.
  18. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  19. โพชฺฌา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ปัญญาเป็นเครื่องบรรลุ, ความรู้, ปัญญา.
  20. มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
  21. มุติ : (อิต.) ความรู้, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, ปรีชา, ปัญญา. มุนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.
  22. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  23. อตฺถปฏิสมฺภิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้(ปัญญา)อันแตกฉานในผล, ปัญญาที่แตกฉานในผลทั้งปวงอันเกิดจากเหตุทั้งปวง, ความรู้อันแตกฉานในอรรถ.
  24. อนุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็น, การเพ่งเล็ง, การพิจารณา, การพิจารณาเห็น, การพิจารณาเนืองๆ, ความตามเห็น, ฯลฯ, อนุปัสสนาพิจารณาด้วยปัญญา, ปัญญา.อนุปสฺสนาวุจฺจติปญฺญา.ไตร. ๓๐/๘๐/๑๖๐.
  25. อปลทฺธิ : อิต. ปัญญา ; ลาภ
  26. อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
  27. ปญฺญาจกฺขุ : นป. จักษุคือปัญญา
  28. ปญฺญาวิมุตฺติ : อิต. ความหลุดพ้นเพราะปัญญา
  29. ปญฺญาสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมตัวปัญญา
  30. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  31. สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
  32. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  33. จกฺขุก : ค. ผู้มีจักษุ, ผู้มีตา, ผู้มีปัญญา
  34. จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
  35. จกฺขุท, - ทท : ค. ผู้ให้จักษุ, ผู้ให้ปัญญาจักษุ
  36. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  37. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  38. ชวจฺฉินฺน : ค. ผู้มีเชาวน์อันขาดแล้ว, ผู้ไม่มีความว่องไว, ผู้ขาดความว่องไว
  39. ชวนปญฺญ : ค. มีปัญญาว่องไว, ความเข้าใจได้ไว
  40. ชวสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยเชาวน์หรือความว่องไว, ผู้มีความกระตือรือร้น
  41. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  42. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  43. ญาณวิปฺปยุตฺต : (วิ.) (จิต) ไม่ประกอบด้วย ปัญญา, ปราศจากปัญญา.
  44. ญาณสมฺปยุตฺต : (วิ.) ประกอบด้วยปัญญา.
  45. ญาณี : (วิ.) มีความรู้, มีปัญญา. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  46. ติกฺขปญฺญ : ค. มีปัญญาเฉียบแหลม
  47. ทสฺสนภูมิ : อิต. ภูมิแห่งการเห็น (ด้วยปัญญา), ระดับแห่งความรู้ความเห็น
  48. ทิสาจกฺขุก : ค. ผู้มีจักษุสอดส่องไปในทิศ, ผู้มีปัญญารอบรู้ทุกด้าน
  49. ทุปปญฺญ : ค., ป. มีปัญญาทราม, โง่, คนมีปัญญาทราม, คนโง่
  50. ทุมฺเมชฺฌ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ.ทุมฺเมธ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-143

(0.0605 sec)