Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เล่นสำนวน, สำนวน, เล่น , then ลน, ลนสำนวน, เล่น, เล่นสำนวน, สำนวน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เล่นสำนวน, 110 found, display 1-50
  1. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  2. ลสติ : ก. ส่องแสง; เล่น
  3. กีฬติ : ก. เล่น, เล่นกีฬา, ร่าเริง
  4. ทิพฺพติ : ก. เล่น, บันเทิง, รื่นเริง
  5. อภิกีฬติ : ก. เล่น, เล่นกีฬา
  6. ลาลน : นป. การเล่นสนุก, การขับกล่อม
  7. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  8. กิฬน กีฬน : (นปุ.) การเล่น, กีฬา, กรีฑา. กิฬฺ กีฬฺ กีฬเน, ยุ.
  9. กีฬนก : ๑. นป. เครื่องเล่น, ตุ๊กตา; ๒. ค. ผู้เล่น
  10. กีฬนา : อิต. การเล่น, การเล่นกีฬา, ความร่าเริง
  11. กีฬา : (อิต.) การเล่น, ความซน, กีฬา, กรีฑา. กีฬฺ กีฬเน, อ.
  12. กีฬาโกฬ, โกฬก : นป. ลูกบอล, ลูกกลมสำหรับเล่น
  13. กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา; ๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
  14. กีฬาปสุต : ค. ผู้ขวนขวายในการเล่น, ผู้ใส่ใจในการกีฬา
  15. กีฬาเปติ : ก. ให้เล่น, ฝึก, ซ้อม
  16. กีฬาสาลา : อิต. โรงกีฬา, โรงสำหรับการเล่นกีฬา, สถานที่รื่นเริง
  17. กีฬิต : ๑. นป. ดู กีฬา๒. กิต. อันเขาเล่นแล้ว, อันเขารื่นเริงแล้ว
  18. กุมารกีฬา : อิต. การเล่นของเด็ก, การรื่นเริงของเด็ก, กีฬาเด็ก
  19. เกลิ : อิต. ความสนุกสนาน, การเล่นกีฬา
  20. เกฬน : (นปุ.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
  21. เกฬนา เกฬิ : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
  22. เกฬายติ : ก. ปรารถนาจะเล่น, อยากเล่น
  23. เกฬายน : นป. ความปรารถนาจะเล่น, ความอยากเล่น
  24. เกฬิ : อิต. กีฬา, การเล่น; การเยาะเย้ย
  25. ขิฑฺฑปโทสิก : ค. ผู้อันความเพลิดเพลินประทุษร้าย คือ ได้รับโทษจากการเล่น
  26. ขิฑฺฑรติ : อิต. ความเพลิดเพลินในการเล่น
  27. ขิฑฺฑา : อิต. การเล่น, การร่าเริง, กีฬา
  28. ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
  29. ขิฑา ขิฑฺฑา : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. ขิฑฺ กีฬายํ, อ, โฑ, อิตฺถิยํ อา. ขํ ตุจฺฉํ อิฑฺฑา วาจา เอตฺถาติ ขิฑฺฑา.
  30. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  31. คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
  32. คุฬกีฬา : อิต. การเล่นลูกกลม, การเล่นลูกขลุบ, เล่นลูกบอล
  33. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  34. จิงฺคุลิก : นป. กังหัน (สำหรับเล่น), เครื่องเล่นชนิหนึ่งทำด้วยใบตาลเป็นต้นซึ่งหมุนด้วยแรงลม
  35. ชูต : (ปุ. นปุ.) การเล่นการพนัน, การพนัน, สกา. วิ. ชวติ เถยฺยํ กโรติ เอเตนาติ ชูตํ. ชุ คติชวเน เถยฺเย วา, โต, ทีโฆ.
  36. ฌานกีฬา : อิต. การเล่นฌาน
  37. ฏฑฺฑรี : อิต. การพูดตลกเล่น
  38. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  39. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  40. ทวกมฺม : (นปุ.) การเล่นหัวเราะกัน.
  41. ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
  42. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  43. นกฺขตฺตกีฬน : นป. การละเล่นในงานนักขัตฤกษ์, การเล่นฉลองตามฤดูกาล
  44. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  45. นจฺจคีตวาทิตาทิรติปฺปเภท : (วิ.) มีความยินดี ในการเล่นมีการฟ้อนและการขับและการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท. เป็น ฉ. ตุล. มี ส. ทวัน., ฉ. ตุล. และ สงตัป. เป็นท้อง.
  46. ปฏิเกฬนา : อิต. การเล่นโต้กลับ, การเล่นฝ่ายตรงข้าม; การเย้ยหยันตอบ
  47. ปตฺตาฬหก : (ปุ.) การเล่นตวงทรายด้วยใบไม้.
  48. ปตฺตาฬฺหก : นป. ทะนานทำด้วยใบไม้สำหรับเล่นตวงทราย, การเล่นตวงทราย
  49. ปรสุเว ปรเสฺว : (อัพ. นิบาต) ในวันพรุ่ง, ใน วันมะรืน, มะรืนนี้, ปะรืน ( สำนวนเก่า ).
  50. ปวชฺชน : นป. การออกเสียง, การเล่นดนตรี, การทำให้เกิดเสียงดนตรี
  51. [1-50] | 51-100 | 101-110

(0.0750 sec)