Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหน็ดเหนื่อย , then หนดหนอย, เหน็ดเหนื่อย .

Eng-Thai Lexitron Dict : เหน็ดเหนื่อย, more than 7 found, display 1-7
  1. dead : (ADJ) ; เหน็ดเหนื่อย ; Related:ซึ่งหมดแรง, เหนื่อยมาก, เมื่อยล้า ; Syn:exhausted, tired
  2. poop out : (PHRV) ; เหน็ดเหนื่อย ; Related:พัง ; Syn:tire out
  3. all in : (IDM) ; เหน็ดเหนื่อย (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:อ่อนล้า, หมดแรง
  4. be play out : (PHRV) ; เหนื่อย ; Related:เหน็ดเหนื่อย ; Syn:played-out
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : เหน็ดเหนื่อย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เหน็ดเหนื่อย, 12 found, display 1-12
  1. เหน็ดเหนื่อย : (V) ; be tired ; Related:be exhausted, be fatigued, feel weary ; Syn:เหนื่อยเหน็ด, เหนื่อย, เหนื่อยล้า, อ่อนล้า, หมดเรี่ยวหมดแรง ; Ant:สดชื่น, กระปรี้กระเปร่า ; Def:อ่อนเพลียเพราะทำงาน ; Samp:พวกเราเป็นห่วงท่านเจ้าคุณมาก เพราะท่านเหน็ดเหนื่อยมาตลอดหลายวันแล้ว
  2. เหนื่อย : (V) ; be tired ; Related:be fatigued, be worn out, be exhausted, be weary ; Syn:เหน็ดเหนื่อย, อิดโรย ; Def:รู้สึกอ่อนแรงลง ; Samp:หุ่นยนต์ไม่เหมือนคนมันไม่รู้จักเหนื่อย และไม่รู้จักเบื่อ
  3. อ่อนล้า : (V) ; be exhausted ; Related:be weary ; Syn:เหนื่อยล้า, เหน็ดเหนื่อย, อ่อนเปลี้ยเพลียแรง, เพลีย ; Samp:เขาคิดจะเข้าไปทำช้างไม้ต่อให้เสร็จแต่ก็อ่อนล้าเกินกว่าที่จะจับสิ่วและค้อนขึ้นมาอีกครั้ง
  4. ความเหน็ดเหนื่อย : (N) ; tiredness ; Related:exhaustion, wearifulness ; Def:การอ่อนเพลียเพราะออกแรงมาก ; Samp:เขารู้ดีว่าตลอดเวลาที่ผ่านมาแม่ต้องต่อสู้กับความเหน็ดเหนื่อยสักเพียงใด
  5. ความเหนื่อย : (N) ; tiredness ; Related:exhaustion, wearifulness ; Syn:ความอ่อนเพลีย, ความอ่อนล้า, ความเหนื่อยอ่อน, ความเหน็ดเหนื่อย ; Def:ความรู้สึกอ่อนแรงและอิดโรย ; Samp:นักกีฬาฝึกซ้อมอย่างหนักจนกระทั่งถึงขีดที่เรียกว่าหายใจหอบ ซึ่งแสดงถึงความเหนื่อย
  6. อ่อนเปลี้ยเพลียแรง : (V) ; be exhausted ; Related:weaken, be weary, fatigue ; Syn:อ่อนเพลีย, อ่อนระโหยโรยแรง, เพลีย, อ่อนล้า, อ่อนแรง ; Def:เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า ; Samp:เมื่อคู่ต่อสู้อ่อนเปลี้ยเพลียแรงลงต่างก็จะรามือกันไปเอง
  7. เอาเป็นเอาตาย : (ADV) ; seriously (without concern of hardship) ; Def:ตั้งใจทำอย่างจริงจังโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย หรือความยากลำบาก ; Samp:ในยุคการสื่อสารไร้พรมแดนนี้ สื่อต้องแข่งขันกันอย่างเอาเป็นเอาตาย
  8. เจ้าหน้าที่ตำรวจ : (N) ; policeman ; Related:police officer, gendarme ; Syn:ตำรวจ, ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ; Ant:ผู้ร้าย ; Samp:เจ้าหน้าที่ตำรวจกำลังปฏิบัติหน้าที่อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
  9. ตั้งอกตั้งใจ : (V) ; pay attention ; Related:concentrate one's attention ; Syn:ตั้งใจ, ใส่ใจ, สนใจ, มุ่งมั่น, ใฝ่ใจ ; Ant:ละเลย, เฉยเมย ; Samp:ทุกคนตั้งอกตั้งใจทำงานกันอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
  10. แบกหาม : (V) ; carry on the back ; Related:shoulder ; Syn:หาม, แบก ; Def:ยกของที่มีน้ำหนักขึ้นวางบนบ่าแล้วพาไป ; Samp:เจ้าหน้าที่ช่วยกันแบกหามคนเจ็บคนแล้วคนเล่าอย่างไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อย
  11. ปุถุชน : (N) ; ordinary people ; Related:commoner, common people ; Syn:มนุษย์, สามัญชน, บุคคล, คน ; Samp:ครูก็คือปุถุชนธรรมดาไม่ใช่เครื่องจักร ย่อมมีความเหน็ดเหนื่อยเบื่อหน่ายและผิดพลาดกันบ้าง ; Unit:คน
  12. หลานปู่ : (N) ; grandchild ; Related:grandson (boy), granddaughter (girl) ; Samp:ปู่รักหลานๆ อย่างสุดสวาทขาดใจ และก็เล่นกับหลานปู่อย่างไม่รู้เหน็ดเหนื่อย ; Unit:คน

Royal Institute Thai-Thai Dict : เหน็ดเหนื่อย, 7 found, display 1-7
  1. เหน็ดเหนื่อย : ก. อ่อนเพลียเพราะทํางานเป็นต้น, เหนื่อยเหน็ด ก็ว่า.
  2. กินเหล็กกินไหล : (สํา) ว. ทนต่อความเหน็ดเหนื่อย หรือความเจ็บปวดได้อย่างผิดปรกติ.
  3. ย่ำแย่ : ก. เหน็ดเหนื่อยมาก, ลำบากมาก, เช่น ทำงานย่ำแย่ ถูกใช้เสียย่ำแย่.
  4. ลมปราณ : น. ลมหายใจ เช่น ทำงานเหน็ดเหนื่อยแทบจะสิ้น ลมปราณ; วิธีกําหนดดูความคล่องของลมหายใจเข้าออกว่าฤกษ์ดี หรือฤกษ์ร้าย เรียกว่า จับลมปราณ.
  5. ลิ้นห้อย : ว. อาการที่เหน็ดเหนื่อยมากเปรียบเหมือนวิ่งมาไกล เหนื่อยจนลิ้นห้อย, อาการที่เหน็ดเหนื่อยเนื่องจากต้องทำงาน หนักมาก.
  6. เหนื่อยอ่อน : ก. รู้สึกเหน็ดเหนื่อยอ่อนเพลีย.
  7. เอาเป็นเอาตาย : ว. ตั้งใจทําอย่างจริงจังโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย หรือความยากลําบาก เช่น ทำงานอย่างเอาเป็นเอาตาย; เอาจริงเอาจัง อย่างรุนแรง เช่น เรื่องเล็ก ๆ แค่นี้ เถียงกันเอาเป็นเอาตายไปได้.

Budhism Thai-Thai Dict : เหน็ดเหนื่อย, 3 found, display 1-3
  1. ที่สุด ๒ อย่าง : ข้อปฏิบัติที่ผิดพลาดไม่อาจนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ ๒ อย่าง คือ ๑.การประกอบตนให้พัวพันด้วยความสุขในกามทั้งหลาย เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ๒.การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า หรือการทรมานตนให้ลำบากเปล่า เรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
  2. สมุตเตชนา : การทำให้อาจหาญ คือ เร้าใจให้แกล้วกล้า ปลุกใจให้คึกคักเกิดความกระตือรือร้น มีกำลังใจแข็งขัน มั่นใจที่จะทำให้สำเร็จ ไม่กลัวเหน็ดเหนื่อยหรือยากลำบาก; เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของการสอนที่ดี (ข้อก่อนคือสมาทปนา, ข้อสุดท้ายคือ สัมปหังสนา)
  3. สุภัททะ : ปัจฉิมสิกขิสาวก (สาวกผู้ทันเห็นองค์สุดท้าย) ของพระพุทธเจ้า เรียกสั้นๆ ว่า ปัจฉิมสาวก เดิมเป็นพราหมณ์ตระกูลใหญ่ ต่อมาออกบวชเป็นปริพาชก อยู่ในเมืองกุสินารา ในวันที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน สุภัททปริพาชกได้ยินข่าวแล้วคิดว่าตนมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง อยากจะขอให้พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อแก้ข้อสงสัยนั้นเสียก่อนที่จะปรินิพพาน จึงเดินทางไปยังสาลวัน ตรงไปหาพระอานนท์ แจ้งความประสงค์ขอเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา พระอานนท์ได้ห้ามไว้ เพราะเกรงว่าพระองค์เหน็ดเหนื่อยอยู่แล้ว จะเป็นการรบกวนให้ทรงลำบาก สุภัททปริพาชกก็คะยั้นคะยอจะขอเข้าเฝ้าให้ได้ พระอานนท์ก็ยืนกรานห้ามอยู่ถึง ๓ วาระ จนพระผู้มีพระภาคทรงได้ยินเสียงโต้ตอบกันนั้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่าสุภัททะมุ่งหาความรู้ มิใช่ประสงค์จะเบียดเบียนพระองค์ ขอให้ปล่อยให้เขาเข้าเฝ้าเถิด สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าแล้ว ทูลถามว่า สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย คือ เหล่าครูทั้ง ๖ นั้น ล้วนได้ตรัสรู้จริงทั้งหมดตามที่ตนปฏิญญา หรือได้ตรัสรู้เพียงบางท่านหรือไม่มีใครตรัสรู้จริงเลย พระพุทธเจ้าทรงห้ามเสียและตรัสว่าจะทรงแสดงธรรม คือ หลักการหรือหลักความจริงให้ฟัง แล้วตรัสว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ หาไม่ได้ในธรรมวินัยใด สมณะ (คืออริยบุคคลทั้ง ๔) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยใด สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะทั้ง ๔ จึงมีในธรรมวินัยนี้ ลัทธิอื่นๆ ว่างจากสมณะ และตรัสสรุปว่า ถ้าภิกษุทั้งหลายเป็นอยู่โดยชอบ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย เมื่อจบพระธรรมเทศนา สุภัททปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธเจ้าตรัสสั่งพระอานนท์ให้บวชสุภัททะในสำนักของพระองค์ โดยประทานพุทธานุญาตพิเศษให้ยกเว้นไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาส ท่านสุภัททะบวชแล้วไม่นาน (อรรถกถาว่าในวันนั้นเอง) ก็ได้บรรลุอรหัตตผล นับเป็นพุทธปัจฉิมสักขิสาวก

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหน็ดเหนื่อย, more than 5 found, display 1-5
  1. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  2. ปริกิลมติ : ก. ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย
  3. ปริสฺสนฺต : กิต. เหน็ดเหนื่อย
  4. อายาส : (วิ.) ลำบาก, ยากแค้น, เหน็ดเหนื่อย.
  5. กิลมติ : ก. เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, ลำบาก
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เหน็ดเหนื่อย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เหน็ดเหนื่อย, not found

(0.1328 sec)