Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: %ข.% .

Royal Institute Thai-Thai Dict : %ข.%, 485 found, display 101-150
  1. ข่าวคราว : น. คําบอกเล่าเรื่องทุกข์สุข.
  2. ขุนบาล : (โบ) น. นายอากรหวย ก ข.
  3. เขดา : [ขะเดา] น. กําเดา, ความร้อน, เช่น ชลเขดาเดือดดาลพอง. (ม. คําหลวง ฉกษัตริย์). (ข. เกฺดา).
  4. เขนย : [ขะเหฺนย] (กลอน) น. หมอนหนุน, ราชาศัพท์ว่า พระเขนย. (ข. เขฺนิย).
  5. เขมา ๒ : [ขะเหฺมา] น. โกฐเขมา. (ดู โกฐเขมา ที่ โกฐ). (ข. เขฺมา ว่า ดํา).
  6. เขมาโกรย : [ขะเหฺมาโกฺรย] น. ชื่อปลาชนิดหนึ่งมีหลังดํา. (ข. ใช้ในความว่า หลังดํา). (พจน. ๒๔๙๓).
  7. เขยียวขยอน : [ขะเหฺยียวขะหฺยอน] ว. สนั่น, หวั่นไหว, เกรียวกราว. (ข. เขฺญียวขฺญาร ว่า เจื้อยแจ้ว).
  8. เขลา : [เขฺลา] ว. ขาดไหวพริบ, รู้ไม่ถึง, รู้ไม่เท่าทัน, ไม่เฉียบแหลม, ไม่ฉลาด. (ข.).
  9. เขลาะ : [เขฺลาะ] ว. กําเลาะ, หนุ่ม, สาว. (ข. เขฺลาะ ว่า หนุ่ม).
  10. แข : น. ดวงเดือน, พระจันทร์. (ข.).
  11. แขสร์ : [ขะแส] น. กระแส; เส้นเชือก. (ข.).
  12. โขดง : [ขะโดง] น. กระโดง; ใบเรือ. (ข.).
  13. โขมด ๑ : [ขะโหฺมด] น. ชื่อผีชนิดหนึ่งในพวกผีกระสือหรือผีโพง เห็นเป็นแสง เรืองวาวในเวลากลางคืน ทําให้หลงผิดนึกว่ามีคนถือไฟหรือจุดไฟอยู่ ข้างหน้า พอเข้าไปใกล้ก็หายไป ทางวิทยาศาสตร์ อธิบายว่า ได้แก่ แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้ว ติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด. (ข. โขฺมจ ว่า ผี).
  14. โขยม : [ขะโหฺยม] (โบ) น. ขยม, ข้า, บ่าว, เช่น ไว้โขยมวัดสามครัว. (พงศ. โยนก). (ข. ขฺญุ?).
  15. โขลนทวาร : [โขฺลนทะวาน] น. ประตูป่า, ประตูป่าที่ทําตามตําราพราหมณ์ คือทําเป็น ประตูสะด้วยใบไม้ให้ทหารผู้ไปทัพนั้นลอดไป มีพราหมณ์คู่หนึ่งนั่งบน ร้านสูง ๒ ข้างประตูคอยประนํ้าเทพมนตร์ เพื่อเป็นชัยมงคลแก่กองทัพ ที่ยกไป. (ข. โขฺลงทฺวาร ว่า ประตูใหญ่ที่มีเสาปัก ๒ ข้าง และมีไม้ขวางข้างบน).
  16. ไขมัน : น. สารประกอบอินทรีย์จำพวกหนึ่งมีทั้งในสัตว์และพืช ไม่ ละลายน้ำ, ถ้าเป็นของเหลวในอุณหภูมิปรกติเรียก น้ำมัน, ถ้าเป็น ของแข็งในอุณหภูมิปรกติเรียก ไข. (อ. fat); (ปาก) เรียกเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ชนิดหนึ่งในคนและสัตว์บางชนิดซึ่งสะสมสารประกอบอินทรีย์ดังกล่าว ไว้มากโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้องหรือในผนังหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ, มัน ก็ว่า.
  17. คม ๑ : ก. ก้ม, คํานับ, ไหว้, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงคมในความหมายว่า ทรงไหว้. (กร่อนมาจาก บังคม). (ข.).
  18. ครวัก, ครวี : [คฺระวัก, คฺระวี] ก. กวัดแกว่ง. (ข. ครฺวาต่, ครฺวี).
  19. คระแวง : [คฺระ-] ก. เคว้ง, แคว้ง, หมุนไป. (ข. คฺรแวง ว่า เหวี่ยง).
  20. คันจาม : น. ไม้ลำยาวสำหรับติดเชือกบาศ ใช้ถือในเวลาคล้องช้างเรียกว่า ไม้คันจาม. (ข. ฎงก?ฺจาม).
  21. คันฉาย ๒ : น. ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย ดอง ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก. (ข. ฉาย ว่า สง).
  22. คัล : [คัน] (กลอน) (ราชา) ก. เฝ้า เช่น พระโรงคัล ว่า ที่เฝ้า. (ข. คาล่).
  23. คำนวณ : ก. กะประมาณ, คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข.
  24. คำนัล : (กลอน) ก. เฝ้าเจ้านาย. (ข. คํนาล่).
  25. คำเพลิง : [-เพฺลิง] น. ปืน. (ข. กําเภลิง).
  26. คิดอ่าน : ก. ตริตรองหาทางแก้ไข.
  27. แคบ ๒ : น. อานม้า เช่น สรรพแคบหมอนทองห้อยภู่พราย. (ยวนพ่าย). (เทียบ ข. แคบ ว่า เบาะ, อานม้า). ก. ขลิบ เช่น ล้วนอลงกฎด้วย อลงการ เบาะลอออานแคบคํา. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์). (ถิ่น-อีสาน แขบ ว่า ขลิบ).
  28. โคก ๑ : น. ที่ดินที่นูนสูงขึ้นคล้ายเนิน แต่เตี้ยกว่า. ว. ที่นูนสูงขึ้น. (ข. โคก ว่า ที่ไม่มีนํ้า, แห้ง).
  29. โคร่ง ๑ : [โคฺร่ง] น. ชื่อเสือชนิด Panthera tigris ในวงศ์ Felidae เป็นเสือที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย ตัวสีเหลือง มีลายดําตามขวาง ล่าสัตว์ป่าบนพื้นดิน มักอยู่ลําพังตัวเดียวยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ ชอบเล่นนํ้ามากกว่าเสือชนิดอื่น, ลายพาดกลอน ก็เรียก. (เทียบ ข. โครฺง ว่า สูงเกินขนาด, สูงโย่ง).
  30. งงิด : [งะ-] น. มืด. (ข. งงึด ว่า มืด).
  31. จงอร : [-ออน] (แบบ) ก. จงทำให้ดีใจ, จงทำให้ปลาบปลื้ม, เช่น ใครรู้แห่ง พระแพศยันดร บอกจงอรใจกู. (ม. คําหลวง ชูชก). (ข. อร ว่า ดีใจ, ปลาบปลื้ม).
  32. จญ : (โบ; กลอน) ก. ประจญ, สู้รบ, เช่น คือนาคจญครุทธสรงง วิ่งเว้น. (ยวนพ่าย). (ข. ชล่).
  33. จทึง : [จะทึง] น. แม่นํ้า, ใช้ว่า ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).
  34. จมูก : [จะหฺมูก] น. อวัยวะส่วนหนึ่งที่ยื่นออกมา อยู่เหนือปาก มีรู ๒ รู สําหรับ ว. ซีดเซียว, หงอยเหงา, สลด, เช่น หน้าจ๋อย. โดยปริยายเรียกสิ่งที่ยื่นออกมาคล้ายจมูก, เรียกสิ่งที่เจาะเป็นรู ๒ รูเพื่อ ร้อยเชือกเป็นต้น เช่น จมูกซุง. (ข.จฺรมุะ).
  35. จรดล : [จอระดน] (กลอน) ก. เที่ยวไปถึง. (ป. จร + ตล = พื้น; ข. ฎล = ถึง).
  36. จรมูก : [จะระหฺมูก] (กลอน) น. จมูก. (ข. จฺรมุะ).
  37. จรวจ : [จฺรวด] (แบบ) ก. กรวด, หลั่งน้ำ. (เทียบ ข. จฺรวจทึก ว่า กรวดนํ้า).
  38. จรวด ๑ : [จะหฺรวด] น. ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง ใช้ไม้อ้อบรรจุดินดำ มีหางยาว เมื่อ จุดชนวนแล้วเหวี่ยงให้พุ่งขึ้นสูง, กรวด ก็เรียก. (ข. กําชฺรัวจ ว่า พลุ). ว. สูงชัน, ใช้ว่า กรวด ก็มี.
  39. จรอก ๑ : [จะหฺรอก] (กลอน) น. ทาง, ทางแคบ, ทางเล็ก, ตรอก, ซอก, เช่น มาคะคล้าย โดยทาง ถับถึงกลางจรอกปู่. (ลอ), บ้างก็นั่งในท่าน้ำบ้างก็ค้ำกันไปนั่งในจรอก. (ม. คำหลวง ชูชก). (ข. จฺรก).
  40. จราง : [จะราง] (แบบ) ก. ผุดขึ้น เช่น ลางส่ำจรางมันผัน ม่ายม้า. (ยวนพ่าย). (ข. จฺรางว่า ตั้งขึ้น, ขนชัน).
  41. จราญ : [จะราน] (กลอน) ก. ผลัก, พัง, ทําลาย, กระจาย, ดับ. (ข. จฺราน ว่า ผลัก).
  42. จราส : [จะหฺราด] ว. ตลอดตัว เช่น แถวจราสศุภลักษณ์. (ลอ). (ข. จราส ว่า ทวนจากล่างไปบน).
  43. จรี : [จะ-] (กลอน) น. มีด, หอก, ดาบ, เช่น บัดออกกลางสนามสองรา สองแขงขันหาก็กุมจรีแกว่งไกว. (สมุทรโฆษ). (ข.).
  44. จรุก : [จะหฺรุก] (แบบ) น. หมู. (จินดามณี). (ข. ชฺรูก).
  45. จอง : ก. ผูกไว้; มั่นหมายไว้, ขอกําหนดไว้, เช่น จองกฐิน จองที่. (ข. จง ว่า ผูก).
  46. จังกวด ๑ : น. จะกวด. (พจน. ๒๔๙๓). (ข. ตฺรกวต).
  47. จังกวด ๒ : (กลอน) ว. บ้า เช่น เฒ่าจังกวดกามกวน. (ม. คําหลวง ชูชก). (ข. ฉฺกวต).
  48. จังกูด : น. เครื่องถือท้ายเรือ คล้ายหางเสือ ทำด้วยไม้เป็นแผ่นใหญ่ รูปร่างคล้ายพาย มีด้ามยาว, จะกูด หรือ ตะกูด ก็เรียก. (ข. จงฺกูต).
  49. จังเก : น. สะเอว เช่น มือนวดแนบจังเก แกะพลิ้ว. (โคลงพระยาตรัง). (ข. จงฺเกะ).
  50. จังไร : ว. เลวทราม, เป็นเสนียด, ไม่เป็นมงคล, จัญไร ก็ว่า. (ข. จงฺไร).
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-485

(0.1206 sec)