Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กัน , then กน, กนฺ, กัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กัน, 598 found, display 151-200
  1. ปฏิโลม : ค. ปฏิโลม, ตรงกันข้าม, ขัดกัน, ทวนกลับ
  2. ปฏิโลมปกฺข : ป. ฝ่ายที่ตรงกันข้าม, ฝ่ายค้าน, ส่วนตรงข้าม
  3. ปฏิวิโรธ : ป. ความมุ่งร้าย, ความขัดเคือง, ความผิดใจกัน, ความขัดแย้งกัน
  4. ปฏิสารี : ค. ผู้แล่นเข้าไปหา, ผู้ถือ, ผู้ยึดถือ (โคตร); ผู้รังเกียจกัน (ด้วยโคตร)
  5. ปณิตก : ค., นป. ซึ่งพนันกันแล้ว, ซึ่งวางเดิมพันแล้ว; ของพนัน, เงินเดิมพัน
  6. ปทจฺเฉท : ป. การตัดซึ่งบท, การแยกคำออกจากกันเพื่ออธิบาย
  7. ปทสสคฺค : ป. ความเกี่ยวข้องกันแห่งบท, ความต่อเนื่องกันของคำ
  8. ปทานุปุพฺพตา : อิต. ความที่บทเรียงต่อกันไปตามลำดับ, การเรียงลำดับคำ
  9. ปทุมวฺยูห : ป. ยุทธวิธีแบบหนึ่งซึ่งมีการจัดพลรบเป็นแนวป้องกันรูปวงกลมซ้อนกันเป็นชั้นๆ
  10. ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
  11. ปยุชฺฌน : (นปุ.) การต่อสู้, การรบ, การต่อสู้ กัน, การรบกัน. ปปุพฺโพ, ยุชฺ สมฺปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ชฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  12. ปรมฺปร : (วิ.) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, นานมา, โบราณนานมา.
  13. ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
  14. ปรมฺปราภต : (วิ.) อันอาจารย์นำสืบๆกันมาแล้ว.
  15. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  16. ปราปร : (วิ.) อื่นและอื่นยิ่ง, สืบๆมา, ต่อๆมา, ต่อเนื่องกัน.
  17. ปราภวน : (นปุ.) ความไม่เห็นแก่กัน, ความดูแคลน, ความดูถูก, ความดูหมิ่น, นินทา. ปราปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, ยุ.
  18. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  19. ปริตฺตาณกิฏิก : (ปุ.) แผงป้องกันฝนสาด, กันสาด ชื่อเพิงที่ต่อจากชายคาสำหรับ กันฝน. ปริตฺตาณ+กิฎิก.
  20. ปริเภท : ป. ความยุยงให้แตกกัน
  21. ปริเวสนา : อิต. การจัดอาหาร, การดูแลอาหารในขณะเลี้ยงกัน
  22. ปริสร : ป., นป. บ้านใกล้เรือนเคียง, ดินแดนติดต่อกัน
  23. ปริสา : อิต. บริษัท, หมู่, คนรวมกัน
  24. ปวารณา : อิต. การเปิดโอกาสให้ตักเตือนกันในคราวออกพรรษาของสงฆ์; การอนุญาตให้ขอสิ่งของได้, การเปิดโอกาส
  25. ปวิวตฺต : กิต. แยกออก, ไม่รวมกัน, สงบสงัด
  26. ปวิสฺสิเลส : ป. การพราก, การแยกกัน
  27. ปาฏิเยกฺก : ก. วิ. โดยแยกกัน, โดยโดดเดี่ยว, โดยส่วนบุคคล
  28. ปารมฺปริย : นป. คำสอนหรือการกระทำที่สืบต่อกันมาตามลำดับๆ
  29. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  30. ปิจุ : นป. ฝ้าย; สัตว์ป่าชนิดหนึ่งกล่าวกันว่าเป็นลิง
  31. ปิณฺเฑติ : ก. ทำให้เป็นก้อน, รวมกันเข้า, ผสมกัน
  32. ปิย : ค. อันเป็นที่รัก, อันเป็นที่พอใจ, เข้ากันได้
  33. ปิยจกฺขุ : นป. การมองกันด้วยสายตาอันน่ารัก, การมองด้วยสายตาแสดงไมตรีจิต
  34. ปิสุณ : นป. การพูดส่อเสียด, การยุยงให้แตกกัน
  35. ปิสุณวาจา : อิต. วาจาส่อเสียด, การพูดยุยงให้แตกกัน
  36. ปุพฺพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่อาศัยร่วมในก่อน, การอยู่อาศัยร่วมในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  37. ปุพฺเพนิวาส : (ปุ.) การอยู่ในกาลก่อน, การอยู่อาศัยในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  38. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  39. ปุราณสาโลหิต : ค. ซึ่งสืบสายโลหิตกันมาก่อน
  40. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  41. พฺยญฺชสโยค : (ปุ.) การซ้อนกันของพยัญชนะ, พยัญชนสังโยค คือพยัญชนะที่ใช้ซ้อนกันได้ตามกฎเกณฑ์ หรือพยัญชนะที่เป็นตัวสกดตามอักขรวิธี.
  42. พฺยตฺตย : (ปุ.) ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม. วิ อติปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย แมลง วฺ เป็น พ. ลบ อิ ที่ ติ บวก อย ซ้อน ตฺ.
  43. พาธก : ค. ซึ่งเบียดกัน, ซึ่งเสียดกัน, ซึ่งยัดเยียด ; ซึ่งคับแคบ
  44. พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
  45. พาหิติกา : อิต. เสื้อคลุม, เสื้อกันหนาว
  46. พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
  47. ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
  48. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  49. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  50. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-598

(0.0382 sec)