Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กัน , then กน, กนฺ, กัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กัน, 598 found, display 451-500
  1. อสมฺโมทก, - ทิก, - ทนีย : ค. ไม่น่ายินดี, ไม่น่าบันเทิง, ไม่เป็นเครื่องให้ระลึกถึงกัน ; ไม่เป็นมิตรกัน
  2. อสมฺโมทิย : นป. การไม่ตกลงใจ, การไม่ปรองดองกัน, การไม่ลงรอยกัน
  3. อสมาคม : ป. การไม่มาประชุมกัน, การไม่มาสมาคมกัน
  4. อสมาน : ค. ไม่เหมือนกัน, ไม่เสมอกัน
  5. อสโมทาน : นป. การไม่ประชุมกัน, การไม่รวมกัน
  6. อสโมสรณ : นป. การไม่มาร่วมกัน, การแยกกัน
  7. อสวาส : ค. ไม่มีสังวาส, มีสังวาสอันไม่เสมอกัน
  8. อเสจน, - นก : ค. ไม่ระคนกัน, เป็นที่ชื่นชมยินดี, มีเสน่ห์
  9. อเห : อ. เอะ! นี่แน่ะ! อย่างไรกันนี่!
  10. อโหสิกมฺม : (นปุ.) อโหสิกรรมคือกรรมที่ต่างฝ่ายต่างเลิกแล้วต่อกันการไม่เอาบาปกรรมแก่กัน, กรรมที่ไม่ให้ผล.วิ.อโหสิกํกมฺมํอโหสิกมฺมํ.ลบกสกัด.
  11. อากิณฺณ : ค. ระคนกัน, ปนกัน, เกลื่อนกล่น, เรี่ยราด, อาเกียรณ์, ลำบาก
  12. อากุณฺฐิต : กิต. ปนกันแล้ว, ระคนแล้ว
  13. อากุลนีย : ค. มักใช้ในรูปปฏิเสธ, เป็น อนากุลนีย = ไม่สับสน, ไม่ปนกัน
  14. อาจิณฺณกปฺป : ป. ความประพฤติที่ทำต่อๆ กันมา, การประพฤติเนืองๆ
  15. อาณตฺติ : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, ข้อบังคับ, ข้อบังคับที่นัดหมายกันไว้, คำบังคัง, คำสั่ง, กฏ.อาณฺธาตุติปัจ.แปลงติเป็นตฺติ.ส. อาชฺญปฺติ.
  16. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  17. อาโยธน : (นปุ.) ที่เป็นที่มารบ, การรบกัน, สนามรบ, สงคราม. วิ. อาทายยุชฺฌนฺเตตฺรา-ติอาโยธานํ.อาปุพฺโพ, ยุธฺสมฺปหาเร, ยุ.ส.อาโยธน.
  18. อาวุณาติ : ก. ร้อยรัด, เย็บ, ร้อยเข้ากัน, เสียบ, เจาะ, ไช
  19. อาสิตฺตก : ๑. นป. ผงชูรส; ๒. ค. ซึ่งปนกัน; ผู้ถูกกามรดแล้ว
  20. อาหจฺจ : (ปุ.) การจรด (เอาของมาชนกัน), การชน, การชนกัน. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โจ, จสฺส จฺโจ, รฺโลโป. หรือลง ริจฺจ ปัจ. ลบ รฺ และ ริ.
  21. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  22. อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
  23. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  24. อุทรตฺตาณ : นป. ผ้ากันเปื้อน, ผ้าคาดเอว
  25. อุปชาป : (ปุ.) การทำให้แตกกัน, การทำลาย. อุปปุพฺโพ, ชปฺ วจเน, โณ. ส. อุปฌาป.
  26. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  27. อุปนิพนฺธน : นป. การเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด, การรบเร้า
  28. อุปนิสฺสชติ : ก. สละให้, มอบให้กัน, เข้าไปขัดขวาง
  29. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  30. อุปวฺหย : (ปุ.) การเจรจากัน, การพูดจากัน. อุป อา ปุพฺโพ, เวฺห อวฺหาเณ, โย.
  31. อุปวฺหยนฺตา อุปวฺหยตฺตา : (อิต.) การเจรจากัน. ตา ปัจ. สกัด ศัพท์ต้น นฺ อาคม ศัพท์หลัง ซ้อน ตฺ.
  32. อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ
  33. อุมฺมาน : (วิ.) ชั่งน้ำหนัก, เทียบ, เทียบกัน, วัด, วัดกัน. อุปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
  34. อุยฺโยธิก : นป. การต่อสู้กัน, การประหัตประหารกัน; สนามรบ, สมรภูมิ
  35. อุฬุป อุฬุปฺป อุฬุมฺป : (ปุ.) พวง (กลุ่มของที่ ห้อยย้อยไปทางเดียวกัน), แพ (กลุ่มของที่ เอามาผูกติดกันเป็นพาหนะทางน้ำ), ป่าไม้ (ดื่มน้ำไว้ ซับน้ำไว้ รักษาน้ำไว้). อุปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ ศัพท์ ที่ ๓ ลงนิคคหิตอาคม แล้วแปลง เป็น มฺ.
  36. เอกชฺฌ : (วิ.) อันเดียว, อันเดียวกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ทำโดย ส่วนเดียว.
  37. เอกชฺฌ : (อัพ. นิบาต) อันเดียวกัน, รวมเข้า, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ประการเดียวกัน, ประการเดียว, โดยส่วน เดียว, โดยส่วนเดียวกัน. รูปฯ ว่าเป็น สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  38. เอกโต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, โดยส่วน- เดียวกัน, โดยความเป็นอันเดียวกัน, โดย ข้างเดียว, ข้างเดียว, รวมกัน, ร่วมกัน.
  39. เอกนินฺนาท : ป. การร้องขึ้นพร้อมกัน
  40. เอกนิโรธ : (วิ.) ดับเป็นหนึ่ง, ดับพร้อมกัน.
  41. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  42. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  43. เอกวิธ : ค. มีอย่างเดียว, ไม่ต่างกัน
  44. เอกวิธา : ก. วิ. โดยส่วนเดียว, โดยไม่แปลกกัน
  45. เอกสทิส : ค. เหมือนกันทีเดียว, เอกลักษณ์
  46. เอกีภูต : ค. เป็นอันเดียวกัน, อันเนื่องกัน
  47. เอกุปฺปาท : (วิ.) เกิดในอารมณ์เดียวกัน, เกิด พร้อมกัน.
  48. เอติหย : นป. ประเพณีที่เล่าสืบต่อกันมา
  49. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นนั่นเทียว, ฉัน นั้นเหมือนกัน, ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
  50. โอคธ : (วิ.) หยั่งลง, นับเข้า, รวมกัน, ถึงที่สุด, วิ. อวคาธตีติ โอคธํ. โอปุพฺโพ, คาธฺ ปติฏฐา ยํ, อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-598

(0.0330 sec)