Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กัน , then กน, กนฺ, กัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กัน, 598 found, display 401-450
  1. อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  2. อถ, อโถ : อ. ครั้งนั้น, ลำดับนั้น, ต่อไป, เช่นกัน
  3. อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
  4. อนฺตรากถา : อิต. ถ้อยคำที่พูดกันในระหว่าง, การสนทนากันในระหว่าง
  5. อนนฺตร : (วิ.) ไม่มีระหว่าง, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันเรื่อยไป, ไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง, ลำดับ, ส.อนนฺตร.
  6. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  7. อนุเนติ : ก. แนะนำ, ไกล่เกลี่ย, ประสานกัน
  8. อนุเนตุ : ป. ผู้แนะนำ, ผู้ทำให้คืนดีกัน
  9. อนุปจิต : ค. ๑. (น+อุป+จิต) ไม่ถูกสั่งสม, ไม่ถูกนำมารวมกัน; ๒. (อนุ+ป+จิต) สั่งสม, ถูกนำมารวมกันแล้ว
  10. อนุปฏิปาฏิยา : ก. วิ. ตามลำดับ, โดยความสืบเนื่องกัน
  11. อนุปฺปพนฺธ : ป. การสืบต่อ, การสืบเนื่องกัน, โดยลำดับ
  12. อนุวาทาธิกรณ : (นปุ.) อธิกรณ์อันเกิดจากการกล่าวหา, เรื่องที่ต้องระงับอักเกิดจากการกล่าวหา, อนุวาทาธิกรณ์(การโจทกันด้วยอาบัตินั้นๆ).
  13. อนุสนฺทติ : ก. ไหลไป, ตามไป, ติดเนื่องกันไป
  14. อนุสฺสว : ป. ๑. การได้ยินเล่าลือกันมา; ๒. จารีต, ธรรมเนียม
  15. อนุสฺสวิก : ค. ผู้ได้ยินได้ฟังสืบๆ กันมา
  16. อนุสาเรติ : ก. ๑.ให้นำมารวมกัน; ๒. ให้เป็นไปตาม ; ๓. ให้ระลึกถึง
  17. อปฺปฏิสนฺธิก, - สนฺธิย : ค. ๑. ไม่อาจถือปฏิสนธิอีก, ไม่กลับมาเกิดอีก; ๒. แก้ไขไม่ได้ ; ๓. รวมกันไม่ได้
  18. อปฺเปติ : ก. ๑. แนบแน่น, แน่วแน่, ติดแน่น ; ๒. มัดเข้ากัน ; ๓. ไหลลงไปสู่
  19. อปร : (วิ.) อื่น, อีกอีก (ส่วนอนาคต), ตรงกันข้าม, ต่าง ๆ, ทีหลัง, ต่อมา.ส.อปร.
  20. อปสวฺย : ค. ข้างขวา, วิปริต, ขัดกัน
  21. อปิจโข : อ. อื่นอีก, แม้อีก, เหมือนกัน
  22. อพนฺธ : (วิ.) ไม่ผูก, ไม่พัน, ไม่มัด, ไม่รัด, ไม่ติดต่อกัน.
  23. อพฺโพกิณฺณ : ค. ไม่ถูกแทรกแซง, ไม่ถูกขัดขวาง, ไม่เจือปน, ไม่คละกัน
  24. อพฺภาส : (ปุ.) การทวนซ้ำ, การซ้อนกัน, การซ้ำกัน, คำซ้ำ, คำซ้อนอัพภาสคือซ้ำหรือซ้อนอักษรลงหน้าคำ.ส.อพฺยาส.
  25. อภิสงฺขิปติ : ก. ซัดไปพร้อมกัน, รวมเข้า, สรุป
  26. อภิสญฺญูหติ : ก. ย่อเข้า, รวมกันเข้า
  27. อภิสณฺฑ : ป. การประมวล, นำมารวมกันเข้า
  28. อภิสนฺทหติ : ก. เชื่อม, ต่อ, รวมกัน, ทำให้พร้อมเสร็จ
  29. อเภท : ค. ๑. ไม่แตกต่าง, ไม่ต่างกัน ; ๒. ทำลายไม่ได้
  30. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  31. อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
  32. อมาวสีอมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และพระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวันสิ้นเดือนทางจันทรคติ.วิ. อมาสหวสนฺติรวิจนฺทายสฺสํสาอมาวสี.อมาปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, ณี.ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  33. อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  34. อยุชฺฌ : ค. ไม่รบกัน, ไม่ต่อสู้กัน
  35. อลฺลิยาปน : (วิ.) ให้ติดกัน.
  36. อวญฺญา : (อิต.) ความดูหมิ่น, ฯลฯ, ความไม่เห็นแก่กัน. วิ. อวชานนํ อวญฺญา.อวปุพฺโพ, ญา ญาเณ, อ. อภิฯลงกฺวิปัจ.
  37. อวภต : กิต. นำมาแล้ว, ถือไปแล้ว, ถูกนำสืบต่อกันมาแล้ว
  38. อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
  39. อวิปฺปโยค : (วิ.) ไม่ไปปราศ, ไม่ไปปราศจากกัน, ไม่พลัดพรากกัน, ไม่พลัดพรากจากกัน, ไม่แยกกัน.
  40. อวิปริต, อวิปริตฺต : ค. ไม่ขัดกัน, ไม่แปรปรวน, ไม่กลับกลาย
  41. อวิเภทิย : ค. ไม่พึงทำให้แตกกัน
  42. อวิสคฺคตา : อิต. ความไม่ถูกขัดขวาง, ความไม่ถูกรบกวน; ความปรองดองกัน, ความสมดุลกัน
  43. อวิเสสน : ก. วิ. โดยไม่แปลก, โดยไม่แตกต่างกัน
  44. อวุตฺติปริโภค : ป. การบริโภคอาหารที่ผิดธรรมชาติ (คืออาหารที่เขาไม่นิยมกินกัน)
  45. อสงฺกุสก : ค. ไม่ขัดกัน, ไม่เป็นข้าศึกกัน
  46. อสงฺกุสกวตฺติ : อิต. ความประพฤติที่ไม่ขัดกัน, ความประพฤติที่สอดคล้องกัน, ความว่าง่ายสอนง่าย
  47. อสทิส : ค. ไม่เหมือนกัน, ไม่มีสิ่งเปรียบ
  48. อสนฺธิตา : อิต. ความไม่สืบเนื่องกัน
  49. อสมนฺนาหาร : ป. การไม่นำมารวมกัน, การที่จิตไม่เป็นสมาธิ
  50. อสมฺโภค : ป. การไม่อยู่ร่วมกัน, การไม่อยู่ร่วมหมู่คณะ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-598

(0.0810 sec)