Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กัน , then กน, กนฺ, กัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กัน, 598 found, display 301-350
  1. สมตุล : (นปุ.) ความเสมอกัน, ความเท่ากัน, ความพอดีกัน, ความสมส่วนกัน, สมดุล. สม+ตูล.
  2. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  3. สมฺปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบกันฐ การประจวบกัน, การพบกัน, การประสบ. สํปปุพฺโฑ, ยุชุ โยเค, โณ, ชสฺส โค.
  4. สมฺปโยเชติ : ก. ประกอบกัน
  5. สมฺปหาร : (ปุ.) การรบกัน, การสู้รบกัน, การต่อสู้กัน, การทำยุทธ์กัน, สนามรบ, สงคราม, สัมหหาร. สํ ป ปุพฺโพ, หรฺ ปสยฺหกรเณ, โณ.
  6. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  7. สมฺปุฎ : (ปุ.) หีบ, ผอบ, ตลับ, ตะกร้า, กล่อง, กล่องข้าว, ลุ้ง, สมุก ชื่อภาชนะสานกัน ๔ มุมมีฝาครอบ สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. สํปุพฺโพ, ปุฎ. สํกิเลสเน, อ. ส. สมฺปุฎ.
  8. สมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องด้วยดี, การถูกต้อง, การกระทบ, การกระทบกัน, การลูบคลำ, ความถูกต้อง, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, ผุส. สมฺผสฺเส, อ. ผุสสฺส ผสฺโส.
  9. สมฺพนฺธ : (ปุ.) การผูกพร้อม, การผูกด้วยดี, การผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, ฯลฯ, สัมพันธ์. สํปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ.
  10. สมฺพนฺธติ : ก. เกี่ยวเนื่องกัน, สัมพันธ์กัน
  11. สมฺพนฺธน : นป. การเกี่ยวเนื่อง, การสัมพันธ์กัน
  12. สมฺภตฺต : (ปุ.) เพื่อนคบกันมั่นคง. วิ. สพฺพกาลํ ภชตีติ สมฺภตฺโต. ภชฺ เสวายํ โต. อถวา, สกาโร พนฺธเว, โส วิย พนฺธโว วิย อญฺญมญฺญํ วิสาสวเสน ภชตีติ สมฺภตฺโต.
  13. สมฺภาส : นป. การพูดกัน, เจรจากัน
  14. สมฺภาสน : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.
  15. สมฺภาสา : (อิต.) การพูดกัน, ฯลฯ. อ ปัจ. อา อิต.
  16. สมฺเภท : (ปุ.) แม่น้ำประสมกัน, ปากน้ำ. วิ. สมฺมา ภิชฺชนฺติ อสฺมินฺติ สมฺเภโท. สมฺมา ปุพฺโพ. ภิทิ เมลเน, โณ. ส. สมฺเภท.
  17. สมฺโภค : (ปุ.) การกินด้วยกัน, การบริโภคด้วยกัน, การกินร่วม, การร่วมกิน, การร่วมบริโภค, การคบกัน. วิ. สห ภุญฺชนํ อนุภวนํ สมฺโภโค. สหปุพฺโพ, ภุชฺ อชฺโฌหรเณ, โณ, ชสฺส โค. ส. สมฺโภค.
  18. สมฺโภช : (ปุ.) การกินด้วยกัน, ฯลฯ. ไทย สมโภช คืองานฉลองในพิธีมงคล.
  19. สมฺม : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, ผู้มีความเสมอ, ผู้มีความเป็นผู้เสมอ, ผู้มีธุระเสมอ, ผู้มีธุระเสมอกัน.
  20. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  21. สมฺมน : (วิ.) มีใจร่วม, มีใจร่วมกัน, มีใจรวมกัน. ไทย สัมมนา ว่า การประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  22. สมฺมานส : (วิ.) มีใจเสมอกัน, สม+มานส.
  23. สมฺมิสฺส : (วิ.) เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, รวมกัน, ผสม, ผสมกัน, ระคน, คลุกเคล้า. สํปุพฺโพ, มิสฺ มิสฺเส, อ. แปลง ส เป็น สฺส.
  24. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  25. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  26. สมวย : (วิ.) มีวัยเสมอกัน, มีวัยร่วมกัน, รุ่นเดียวกัน, ปีเดียวกัน, สมวัย. สม+วย.
  27. สมากิณฺณ : กิต. มุงกัน, ประชุมกัน, เกลื่อนกลาด
  28. สมาคจฺฉติ : ก. ประชุมกัน
  29. สมาคม : (ปุ.) การมารวม, การมารวมกัน, การมาร่วม, การมาพร้อมกัน, การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, สมาคม. สํ อาปุพฺโพ. คมฺ คติยํ. อ. ส. สมาคม.
  30. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  31. สมาธาน : (นปุ.) การตั้งไว้เสมอกัน, การตั้งไว้โดยชอบ. วิ. สมํ สมฺมา วา อาธานํ สมาธานํ.
  32. สมาน : (วิ.) คล้าย, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, อันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นอันเดียวกัน, เสมอกัน, เท่ากัน. สมฺ เวลมฺเพ, ยุ. ส. สมาน.
  33. สมานคติ : (อิต.) การไปเช่นกัน, การเป็นไปเช่นกัน, ฯลฯ.
  34. สมานฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจร่วมกัน, ฯลฯ.
  35. สมานวาส : (วิ.) ผู้มีการอยู่ด้วยชนเสมอกัน.
  36. สมานสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ร่วมกันได้, สมานสังวาส ใช้สำหรับพระสงฆ์ในความว่าทำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกันได้.
  37. สมานสุขทุกฺข : (ปุ.) มิตรผู้มีสุขและทุกข์เสมอกัน, มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์.
  38. สมายาติ : ก. มาร่วมกัน, รวมกัน
  39. สมาหาร : (ปุ.) การนำมารวม, การนำมารวมกัน, การรวบรวม. สํ อา ปุพฺโพ, หรฺ หรณ, โณ.
  40. สเมต : กิต. ประชุมกันแล้ว, รวมกันแล้ว
  41. สโมธาน : (นปุ.) การประชุม, การประชุมลง, การรวมกัน, การประมวลลง. สํ+โอ+ธา ธาตุ ยุ ปัจ.
  42. สโมสรณฏฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาประชุมกัน.
  43. สโมสร สโมสรณ : (นปุ.) การมารวมกัน, การมาร่วมกัน, การมาพร้อมกัน, การประชุมกัน, สโมสร(ที่สำหรับประชุมกัน ที่สำหรับประชุมคบค้ากัน). สํ อา ปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. ยุ. แปลง อา เป็น โอ.
  44. สโยเชติ : ก. ผูกติดกัน, ประกอบ
  45. สริกฺขก : ค. ผู้เห็นคล้ายกัน, ซึ่งเห็นสม
  46. สริกฺข สริกฺขก : (วิ.) อัน...เห็นเสมอ, อัน...เห็นสม, อัน...พึงเห็นเสมอ. วิ. สมานมิว มํ ปสสิตพฺโพติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เหมือนกัน. วิ. สมาน มิว นํ ปสฺสตีติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. สมานสฺส โส, ทิสฺธาตุยา ริกฺโข. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  47. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  48. สลฺลาป : (ปุ.) การกล่าวกับ, การกล่าวด้วยดี, การกล่าวด้วยดีต่อกัน, การพูดจากัน, การสนทนา, การเจรจาปราศรัย, คำอ่อนหวาน. วิโรธรหิตํ วจนํ สลฺลาโป. สํปุพฺโพ, ลปฺ วาเ กฺย, โณ.
  49. สวณฺณ : (นปุ.) พยัญชนะที่เหมือนกันโดยฐาน.
  50. สสนฺทนา : อิต. การเทียบเคียงกัน
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-598

(0.0675 sec)