Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กัน , then กน, กนฺ, กัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กัน, 598 found, display 51-100
  1. ฆนปุปฺผ : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีรูปดอก ไม้ติดกัน วิ. ฆนํ สนฺธิภูตํ ปุปฺผ เมตสฺสา- ติ ฆนปุปฺผํ.
  2. ฆาฏ : (ปุ.) การฆ่า, การฆ่าฟัน, การตี, การประหาร, การทำลาย, การกำจัด, การเบียดเบียน. ฆฏฺ หึสายํ, โณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, ต้นคอ, ท้ายทอย. ฆฏฺ สํฆาเต, โณ.
  3. โฆสน : (นปุ.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  4. โฆสนา : (อิต.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  5. จณฺฑาล : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนชั้นต่ำ, คนดุ, ฯลฯ, คนจัณฑาล (ลูกของคนที่พ่อแม่ต่างวรรณะกัน).
  6. จตุกณฺณ จตุกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมสี่ คือการปรึกษากันสองคน ได้ยินกันสี่หู ( มนฺต การปรึกษา ). วฺ. จตฺตาโร กณฺณา เอตฺถาติ จตุกฺกณฺโณ. ทฺวินฺน ชนาน วิสยภูโต โส มนฺโต จตุกฺกณฺโณ. นาม.
  7. จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
  8. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  9. จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
  10. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  11. ฉนฺทนานตฺต : นป. ความแตกต่างกันแห่งความพอใจหรือปรารถนา
  12. ฉนฺทาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความรัก, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่กัน ความลำ เอียงเพราะความพอใจ.
  13. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  14. ฉิทฺทการี : ค. ผู้ไม่ลงรอยกัน, ขัดกัน, แตกร้าวกัน
  15. ฉุป : (ปุ.?) การถูก, การต้อง, การถูกต้อง, การรบกัน, สงคราม, เถาวัลย์, ลม. ฉุปฺ สมฺผลฺเส, อ. ส. ฉุป.
  16. ชฏติ : ก. เบียดกัน, รก, รุงรัง
  17. ชาติวาท : ป. การสนทนาถึงเรื่องชาติ, การถกกันด้วยเรื่องเทือกเถาเหล่ากอ
  18. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  19. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  20. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  21. ญาตก : (ปุ.) คนรู้จัก, คนรู้จักกัน, พี่น้อง, ญาติ. วิ. ญาติ เอว ญาตโก. แปลง อิ เป็น อ ก สกัด.
  22. ตคฺครุก : ค. ซึ่งโค้งบรรจบกัน
  23. ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
  24. ตถา : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, เหมือน กัน, เหมือนอย่างนั้น, มีอุปมัยเหมือน อย่างนั้น, ประการนั้น. รูปฯ ๔0๕ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ วิภัตติ กัจฯ ๓๙๘ ตั้ง วิ. ไว้ทุกวิภัตติ ตามแต่เนื้อความในประโยคนั้น ๆ.
  25. ตเถว : อ. ฉันนั้นแล, ในทำนองเดียวกัน, เหมือนกันนั่นแหละ
  26. ตนฺตากุลกชาต : ค. ซึ่งผูกพันกันยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
  27. ตพฺพิปกฺข : ค. ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งนั้น, ตรงกันข้ามกับสิ่งนั้น
  28. ตพฺพิปรีต : ค. ซึ่งต่างกันกับสิ่งนั้น, ซึ่งไม่เหมือนกันกับสิ่งนั้น
  29. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  30. ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
  31. ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
  32. ตุล : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, คล้าย, เช่นกัน. ตุลฺ อุมฺมาเณ ตีรณายํ วา, อ.
  33. ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
  34. ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
  35. ตุลฺยตา : อิต. ความเสมอกัน
  36. ตุวนฺตุว : นป. การทะเลาะ, การเถียงกัน, การต่อสู้กัน
  37. โตลน : (นปุ.) การชั่งน้ำหนัก, การวัดกัน, การเทียบกัน, ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ. ส. โตลน.
  38. ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  39. ทณฺฑยุทฺธ : ป. การต่อสู้ด้วยท่อนไม้, การต่อสู้กันด้วยตะบอง, การสู้กันด้วยไม้พลอง, การรำกระบี่กระบอง
  40. ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
  41. ทวกมฺม : (นปุ.) การเล่นหัวเราะกัน.
  42. ทฬฺหมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนผู้มั่นคง, เพื่อนคบกันมั่นคง.
  43. ทารุสมาทหาน : นป. การรวบรวมไม้, การเก็บไม้มารวมกัน, การเก็บฟืน
  44. ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
  45. ทิฏฺฐปุพฺพ ทิฏฺฐปุพฺพก : (วิ.) อัน...เห็นใน กาลก่อน, อัน...เคยเห็นแล้ว, เห็นแล้ว ในกาลก่อน, เคยเห็นกันแล้ว, เคยพบ กันแล้ว.
  46. ทิฏฺฐมตฺตก : ป. เพื่อนที่สักว่าพบกัน, เพื่อนเห็น
  47. ทิฏฺฐสสนฺทน : ป. การเปรียบเทียบทิฐิด้วยสิ่งที่ตนเห็น, การเปรียบเทียบความคิดเห็น, การสนทนากันเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น
  48. ทุติยฺยาตา : อิต. ความเป็นผู้เป็นที่สอง, ความเป็นสหาย, ความเกื้อกูลกัน
  49. ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
  50. เทวาสุรสงฺคาม : (ปุ.) สงครามแห่งเทวดาและอสูร, การรบกันระหว่างเทวดาและอสูร.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-598

(0.0766 sec)