Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทฺวา , then ทฺว, ทวา, ทฺวา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทฺวา, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ทฺวา, 8 found, display 1-8
  1. ทวาราวดี : (N) ; Dhavaravati Kingdom ; Syn:อาณาจักรทวาราวดี ; Def:ชื่อนครอโยธยา เป็นอาณาจักรโบราณ เริ่มตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 11 หรือ 12-16 ; Samp:เมื่อราวพันปีที่ร่วงมานี้ เขมรขยายอาณาเขตเข้ามาในอาณาจักรทวาราวดี
  2. ทว่า : (CONJ) ; but ; Syn:แต่ทว่า, แต่ว่า, แต่, แต่ถ้าว่า ; Def:คำที่ใช้แสดงว่าเหตุการณ์ขัดแย้งกัน ; Samp:ถึงแม้จะยอมทำงานทุกอย่างโดยไม่ย่อท้อ ทว่าครอบครัวของสุดใจก็ยังคงจนอยู่
  3. ที่ว่า : (PRON) ; that
  4. แต่ทว่า : (CONJ) ; but ; Related:however ; Syn:แต่, ทว่า, แต่ถ้าว่า, ถ้าว่า ; Samp:น้องอยากไปเที่ยวแต่ทว่ายังทำการบ้านไม่เสร็จ
  5. ทวารบาล : (N) ; porter ; Related:watch-man, door-keeper ; Syn:ผู้เฝ้าประตู, นายประตู, ทวารนายก, ทวารบดี, ทวารปาละ, ทวารักษี ; Def:ผู้เฝ้าอยู่ที่ประตู ; Samp:ที่บานประตูมีภาพทวารบาล ซึ่งวาดโดยช่างฝีมือพื้นบ้าน ; Unit:คน, นาย
  6. เสียแต่ว่า : (CONJ) ; but ; Related:however ; Syn:แต่, แต่ว่า, ทว่า, แม้ว่า ; Def:ใช้แสดงว่าเหตุการณ์ขัดแย้งกัน ; Samp:ที่จริงเสื้อตัวนี้สวยมาก เสียแต่ว่าเงินไม่พอ
  7. ขยายอาณาเขต : (V) ; expand (territory) ; Syn:ขยายพื้นที่, แผ่อาณาเขต ; Def:่แผ่พื้นที่ หรืออาณาเขตให้กว้างขึ้น ; Samp:เขมรขยายอาณาเขตเข้ามาในอาณาจักรทวาราวดีจนในที่สุดอาณาจักรทวาราวดีก็สูญสิ้นชื่อไป
  8. ปณีต : (ADJ) ; fine ; Related:delicate, elaborate, neat, scrupulous, refined ; Syn:ประณีต, บรรจง, เรียบร้อยงดงาม, ละเอียดลออ ; Ant:หยาบ ; Samp:กนกลายปณีตเกี่ยวกระหวัดก้านแย่งทวารา

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทฺวา, 6 found, display 1-6
  1. ทวา : [ทะวา] (แบบ) ว. สอง. (ป., ส. ทฺวา).
  2. ทวาตรึงประดับ : น. ชื่อโคลงโบราณ.
  3. ทวาทศะ . : [ทะวาทะสะ] ว. สิบสอง (ส. ทฺวาทศนฺ; ป. ทฺวาทส).
  4. ทว่า : [ทะว่า] สัน. แต่ถ้าว่า, แต่ว่า, ย่อมาจาก แต่ทว่า.
  5. โง่เง่าเต่าตุ่น : (สํา) ว. โง่ที่สุด เช่น เพราะโง่เง่าเต่าตุ่นพ่อคุณเอ๋ย ผู้ใดเลยจะประสงค์จํานงหมาย. (นิ. ทวาราวดี).
  6. แผ่กระจาด : (ปาก) ก. นอนแผ่เต็มที่ เช่น ลงไปแผ่กระจาดอยู่บนร้าน ข้างโรงยี่เกแล้ว. (รัตนทวารา).

Budhism Thai-Thai Dict : ทฺวา, 4 found, display 1-4
  1. ปิณโฑล ภารทวาชะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร ในพระนครราชคฤห์ เรียนจบไตรเพท ออกบวชในพระพุทธศาสนา ได้สำเร็จพระอรหัต เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสติ สมาธิ ปัญญา มักเปล่งวาจาว่า “ผู้ใดมีความเคลือบแคลงสงสัยในมรรคก็ดี ผลก็ดี ขอผู้นั้นจงมาถามข้าพเจ้าเถิด” พระศาสดาทรงยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะในทางบันลือสีหนาท
  2. ภารทวาชโคตร : ตระกูลภารทวารชะ เป็นตระกูลพราหมณ์เก่าแก่ ปรากฏตั้งแต่สมัยร้อยกรองพระเวท แต่ในพุทธกาลปรากฏตามคัมภีร์วินัยปิฎก ว่าเป็นตระกูลต่ำ
  3. อสีติมหาสาวก : พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ องค์ บางทีเรียกอนุพุทธ ๘๐ องค์ มีรายนามตามลำดับอักษร ดังนี้ (ที่พิมพ์ตัว เอน คือท่านที่เป็นเอตทัคคะด้วย): กังขาเรวต, กัปป, กาฬุทายี, กิมพิล, กุมารกัสสป, กุณฑธาน, คยากัสสป, ควัมปติ, จุนท, จูฬปันถก, ชตุกัณณิ, ติสสเมตเตยย, โตเทยย, ทัพพมัลลบุตร, โธตก, นทีกัสสป, นันท, นันทก, นันทก, นาคิต, นาลก, ปิงคิย, ปิณโฑลภารทวาช, ปิลินทวัจฉ, ปุณณก, ปุณณชิ, ปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันต, โปสาล, พาลุกะ (พักกุละ ก็เรียก), พาหิย ทารุนีริย, ภคุ, ภัททิย (ศากยะ), ภัททิย, ภัทราวุธ, มหากัจจายน, มหากัปปิน, มหากัสสป, มหาโกฏฐิต, มหานาม, มหาปันถก, มหาโมคคัลลาน, เมฆิย, เมตตคู, โมฆราช, ยส, ยโสช, รัฏฐปาล, ราธ, ราหุล, เรวตขทิรวนิย, ลกุณฏกภัททิย, วักกลิ, วังคีส, วัปป, วิมล, สภิย, สาคต, สารีบุตร, สีวลี, สุพาหุ, สุภูติ, เสล, โสณกุฏิกัณณ, โสณโกฬิวิส, โสภิต, เหมก, องคุลิมาล, อชิต, อนุรุทธ, อัญญาโกณทัญญ, อัสสชิ, อานนท, อุทย, อุทายี, อุบาลี, อุปวาณ, อุปสีว, อุปเสนวังคันตบุตร, อุรุเวลกัสสป
  4. อัคคัญญสูตร : ชื่อสูตรที่ ๔ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก ทรงแสดงแก่สามเณรวาเสฏฐะ และสามเณรภารัทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงคัดค้านคำกล่าวอ้างของพวกพราหมณ์ ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด และถือว่าชาติกำเนิดเป็นเครื่องตัดสินความประเสริฐ และความต่ำทรามของมนุษย์ ทรงแสดงให้เห็นว่าความประเสริฐหรือต่ำทรามนั้นอยู่ที่ความประพฤติ โดยมีธรรมเป็นเครื่องตัดสิน คนวรรณะต่างๆ ออกบวชในพระพุทธศาสนาแล้ว ย่อมชื่อว่าเป็นผู้เกิดจากธรรมเสมอกันหมด แล้วทรงแสดงความเป็นมาของสังคมมนุษย์ เริ่มแต่เกิดมีสัตว์ขึ้นในโลกแล้วเปลี่ยนแปลงตามลำดับ จนเกิดมีมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวก เกิดความจำเป็นต้องมีการปกครอง และมีการประกอบอาชีพ การงานต่างๆ กัน วรรณะทั้ง ๔ ก็เกิดจากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ มิใช่เป็นเรื่องของพรหมสร้างสรรค์ แต่เกิดจากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาติ) ทุกวรรณะประพฤติชั่วก็ไปอบายได้ ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได้ ธรรมเป็นเครื่องตัดสิน และธรรมเป็นของประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวกิเลสแล้ว เป็นผู้ประเสริฐสุดในวรรณะทั้ง ๔ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุดในบรรดาเทวะ และมนุษย์ทั้งปวง

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทฺวา, more than 5 found, display 1-5
  1. ทฺวติปตฺต : (ปุ.) บาตรสองหรือบาตรสาม, สองบาตรหรือสามบาตร, สองสามบาตร, วิ. ทฺวิปตฺตา วา ติปตฺตา วา ทฺวติปตฺตา.
  2. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  3. ทฺวยการี : ค. ผู้ทำกรรมทั้งสองอย่างคือ ทั้งกรรมดีและกรรมชั่ว
  4. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  5. อภิทฺวติ : ก. เข้าโจมตี, บุกรุกทำร้าย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทฺวา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทฺวา, 6 found, display 1-6
  1. กลางวัน : ทิวา
  2. คนบ้านนอก : ชนปทวาสี, ชานปทา
  3. จันทร์ (วัน) : จนฺทวาโร, สสิวาโร
  4. แตงกวา (พืช) : อินฺทวารุณี, กกฺการี [อิ.]
  5. วัน : ทิวา, ทิวโส, ทินํ, ทิวสํ, อหํ
  6. วันจันทร์ : จนฺทวาโร, สสิวาโร

(0.1505 sec)