Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: น้ำ , then นำ, น้ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : น้ำ, 778 found, display 701-750
  1. อภิหรติ : ก. นำมา, นำไป ; ด่า, แช่ง
  2. อภิหริยติ : ก. อันเขานำมาหรือนำไป
  3. อภิหาเรติ : ก. ให้นำมาหรือนำไป
  4. อมตมคฺค : ป. ทางอันไม่ตาย, ทางนำไปสู่อมตะ
  5. อวกฺขลิต : กิต. ล้างออกแล้ว, นำออกแล้ว, ทิ้งแล้ว
  6. อวภต : กิต. นำมาแล้ว, ถือไปแล้ว, ถูกนำสืบต่อกันมาแล้ว
  7. อวฺยาหรติ : ก. นำมา, นำกลับมา
  8. อวหฏ : กิต. ถูกนำไปแล้ว, อันเขาลักไปแล้ว
  9. อวหาร : (ปุ.) การนำลง, การฉวยเอา, การชิงเอาการลัก, การขโมย, ความนำลง.อวหรือโอบทหน้าหรฺธาตุในความถือเอาณปัจ.ส.อวหาร.
  10. อสมนฺนาหาร : ป. การไม่นำมารวมกัน, การที่จิตไม่เป็นสมาธิ
  11. อสฺสาสก : ค. อันนำมาซึ่งความสบายใจ
  12. อสหาริม : (วิ.) อัน...นำไปไม่ได้, นำไปไม่ได้.
  13. อสหาริมธน : (นปุ.) ทรัพย์อัน...นำไปไม่ได้, ทรัพย์เคลื่อนที่ไม่ได้, อสังหาริมทรัพย์โดยตรงได้แก่แผ่นดิน โดยอ้อมนับของที่เนื่องด้วยแผ่นดินด้วย.
  14. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  15. อาฆาตน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาฆ่า, สถานที่ฆ่า, สถานที่สำหรับฆ่า, ตะและแกง (ที่เป็นที่นำมาฆ่าที่สำหรับฆ่านักโทษ)วิ.อาคนฺตวาฆาเตนฺติยสฺมึตํอาฆาตนํ.อาโกธวเสนสตฺเตฆาเตติเอตฺถาติอาฆาตนํ.อาอักษรเป็นไปในความโกรธ.ส.อาฆาตน.
  16. อาเทสนาปาฏิหาริยสาสนี : (วิ.) (วาจา)เป็นเครื่องสั่งสอนด้วยอิทธิอันนำเสียซึ่งปฏิปักษ์ด้วยสามารถแห่งความแสดงอ้าง.
  17. อานก : (วิ.) นำมา.อาปุพฺโพ, นยฺนยเน, อ.ยสฺสโก.
  18. อานยติ : ก. นำมา, ไปพามา
  19. อานาเปติ : ก. ให้นำมา, ให้ไปนำมา
  20. อานีต : กิต. อันเขานำมาแล้ว, ถูกนำมาแล้ว
  21. อาเนติ : ก. นำมา, พามา, ถือมา
  22. อาปาทก : ๑. ป. ผู้ดูแลเด็ก, คนเลี้ยงเด็ก ; ๒. ค. ผลิตขึ้น, ก่อให้เกิดขึ้น, นำไปสู่
  23. อาภรติ : ก. นำมา, พามา
  24. อาวห : (วิ.) นำมา. อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ.
  25. อาวห, - ก : ค. นำมา, พามาแต่งงาน, พามา
  26. อาวหติ : ก. นำมา, พามาแต่งงาน, พามาอาวาหมงคล
  27. อาวาห อาวาหมงคล : (นปุ.) มงคลที่เป็นที่ นำมา, การนำมา, การแต่งงาน, การสมรส, อาวาหะ (การนำหญิงมาอยู่บ้านฝ่ายชาย). อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ. ส. อาวาห.
  28. อาหฏ : กิต. นำมาแล้ว, พามาแล้ว, ถือมาแล้ว
  29. อาหรติ : ก. นำมา, ไปเอามา, ยกมาเล่า, นำมาสอน; ใส่โทษ
  30. อาหริม : ค. อันนำมา, เป็นเสน่ห์, ล่อให้หลง
  31. อาหริย : ค. ผู้ควรนำมา
  32. อาหวน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงนำมาบูชา, การบูชา. อาปุพฺโพ, หู หพฺยทาเน, ยุ. อาหวน.
  33. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  34. อาฬน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาเผา, ป่าช้า. วิ. อาเนตฺวาทหียเตอเตฺรติ อาฬนํ. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ, หฺโลโป.
  35. อาฬหณ อาฬหน : (นปุ.) หลักเป็นที่นำนักโทษ ประหารมาฆ่า, ที่ประหารชีวิต. อาปุพฺโพ, ทหฺ หึสายํ, ยุ.
  36. อาฬหณ อาฬหน อาฬาหณ อาฬาหน : (นปุ.) ป่าช้า วิ. อาคนฺตวา ทหนฺติ อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ. อาเนตฺวา ทหียเต อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. (ที่เป็นที่นำศพมาเผา).
  37. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  38. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  39. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  40. อุตฺตาริต : กิต. อันเขาให้ข้ามพ้น; อันเขานำออกแล้ว
  41. อุตฺตาริตตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาให้ข้ามพ้น; ความเป็นอันเขานำออกแล้ว
  42. อุทาหฏ : กิต. อุทานแล้ว, เปล่งแล้ว, นำมาอ้างแล้ว
  43. อุนฺนีตก : ค. ถูกนำไป, ถูกพาไป
  44. อุปกฺขฏ : กิต. นำเข้ามาใกล้, จัดแจง, แต่ง
  45. อุปนยติ : ก. นำเข้าไป, มอบให้
  46. อุปนาเมติ : ก. น้อมเข้าไป, นำเข้าไป, น้อมถวาย
  47. อุปนีต : กิต. นำไปแล้ว, มอบให้แล้ว
  48. อุปนียติ : ก. อันเขานำไป
  49. อุปนีหาตุ : กิต. เพื่อให้นำมา
  50. อุปเนติ : ก. นำเข้าไป, มอบให้
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-778

(0.0731 sec)