Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: น้ำ , then นำ, น้ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : น้ำ, 778 found, display 751-778
  1. อุปฺปาฏก : ป. ตัวแมลง, สัตว์ที่นำโทษมาให้ เช่น หนู เป็นต้น
  2. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  3. อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ
  4. อุปสหิต : ค. อันเขานำมาประกอบแล้ว, อันเขานำมาประยุกต์แล้ว
  5. อุปหรติ : ก. นำมา, ให้
  6. อุพฺพหติ : ก. ดึงออก, ลากไป, เข็นไป, นำไป, ยกขึ้น
  7. อุพฺภต : กิต. โยนออกแล้ว, นำออกแล้ว, ยกขึ้นแล้ว
  8. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  9. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  10. โอฑฺฒ : กิต. นำไปแล้ว, แยกไปแล้ว
  11. โอณีต : กิต. นำออกแล้ว, ลากออกแล้ว
  12. โอทหติ : ก. ตั้งลง, วางลง, เติม, นำมา, เพิ่ม, ตั้งใจ
  13. โอนีต : กิต. นำออกแล้ว, เอาออกแล้ว, นำไปแล้ว
  14. โอเนติ : ก. นำไปปราศ, นำออกไป
  15. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  16. โอปสมิก : ค. ซึ่งนำไปสู่แดนสงบ
  17. โอภตจุมฺพฏา : อิต. สตรีผู้มีเทริดอันบุรุษนำลงแล้วนำมาเป็นภรรยา
  18. โอภรติ : ก. นำไป, นำออกไป, หิ้ว, หาม, ปลง
  19. โอมุญฺจติ : ก. นำออก, เปลื้องออก
  20. โอมุญฺจาเปติ : ก. ให้นำออก, ให้แก้ออก
  21. โอโรเปติ : ก. ยกลง, ตัดออก, นำไป
  22. โอวหาติ : ก. นำลง
  23. โอวุยฺหติ : ก. อันเขานำลง
  24. โอสาเรติ : ก. บรรจุเข้าตำแหน่งเดิม, เรียกเข้าหมู่ ; อธิบาย, ชี้แจง, นำมาพิจารณา
  25. โอหรติ : ก. นำออก, นำไป, นำลง
  26. โอหาร : (วิ.) นำลง, ปลง, ปลงลง, ยกลง.
  27. โอหาริตเกสมสฺสุก : (วิ.) ผู้มีผมและหนวด อันนำลงแล้ว, ผู้มีผมและหนวดอันโกน แล้ว, ผู้โกนผมและหนวดแล้ว.
  28. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-778]

(0.0524 sec)