Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

ETipitaka Pali-Thai Dict : , 495 found, display 351-400
  1. สุสาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนแห่งศพ, ป่าช้า. วิ. ฉวสฺส สนฎฺฐานํ สุสานํ. ฉวสฺส สุ, สนสฺส สาโน. หรือลบ แปลง อ ที่ ส เป็น อา.
  2. สุหท สุหทเ : (วิ.) มีใจดี วิ. สุนฺทรํ หท เมตสฺสาติ สุหโท สุหทโ วา. ศัพท์ต้น ลบ . ส. สุหฤท.
  3. เส : (อิต.) การนอน, ที่นอน, ไสา. สึ สเ, โ. แปลง อี เป็น เอ เป็น รูปฯ ๖๔๕.
  4. โสคนฺธิก โสคนฺธิ : (นปุ.) จงกลนี วิ. สุคนฺเธน ุตฺตํ โสคนฺธิกํ. ณิกปัจ. ศัพท์ หลัง แปลง ก เป็น .
  5. โสตฺถิก โสตฺถิ : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น .
  6. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวอารมณ์ที่สบาอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺ ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  7. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดง่า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดง่า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่า, ความเป็นคนว่าง่า, ความเป็นผู้ว่าง่า, ความเป็นผู้ว่าง่าสอนง่า. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺ ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง เป็น ส หรือ แปลง สฺ เป็น สฺส ก็ได้.
  8. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่าินดี, ินดี, พึงใจ. วิ. หทเ สาธุ หชฺชํ หทสฺส วา ปินฺติ หชฺชํ. หท+ณฺ ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺ เป็น ชฺช.
  9. หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหา. หา ปริหานิเ, ุ. ลง ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ุ เป็น อน.
  10. อธิมุจฺจน : (นปุ.) ความน้อมใจเชื่อ, ความแน่ใจอธิ+มุจฺ+ ปัจ.ประจำธาตุ ุ ปัจ.
  11. อปฺเปว อปฺเปว นาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อ่างไรเสี, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อ แม้ไฉน. อปิ+เอว แปลง อิ เป็น แปลง เป็น ป.
  12. อภิสชฺชน : (วิ.) อันัง....ให้ข้องอู่, อันัง....ให้ติดอู่.อภิปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, ุ. ลง ปัจ.ประจำธาตุแปลงชฺเป็นชฺช ุเป็น อน.
  13. อสุก : (ไตรลิงค์) โน้น. แจกรูปเหมือน ศัพท์ทั้ง ๓ ลิงค์.
  14. อาลิงฺคฺ : (ปุ.) การสวมกอด ฯลฯ. ปัจ.
  15. อิช : (ปุ.) การบูชา, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การบูชาเทพ, คนผู้บูชา, ฯลฯ. ชฺ เทวปูชาํ, อ, สฺสิ (แปลง เป็น อิ).
  16. อิชฺชา : (อิต.) การบูชา, ฯลฯ, การชุมนุม. ชฺ ธาตุ ณฺ ปัจ. แปลง เป็น อิ แปลง ชฺ เป็น ชฺช อา อิต.
  17. อิทิ : (วิ.) มีปกติบูชา วิ. ชสีโล อิทิ. ลบ สึล แปลง เป็น อิ ช เป็น ท อิ ปัจ.
  18. อุจฺจ : (วิ.) สูง, ระหง (สูงโปร่ง สูงสะโอดสะอง), เขิน (สูง). วิ. อุจิโนตีติ อุจฺโจ. อุปุพฺโพ, จิ จเ, อ. แปลง อิ เป็น รวมเป็น จฺ แปลง จฺ เป็น จฺจ ส. อุจฺจ.
  19. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อ่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺ ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ปัจ.
  20. อุปคฺุห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ปจฺจโ, กฺปจฺจโ วา. เปลี่ ไว้หน้า ห.
  21. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น รวมเป็น นฺ แปลง นฺ เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺ เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  22. อุปาทารูป : (นปุ.) รูปอันอาศัมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทา ปวตฺตํ รูปํ อุปาทารูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  23. กตุ : (ปุ.) การบูชา, การบูชาัญ, ัญ. วิ. สคฺคตฺถิเกหิ กรีตีติ กตุ (อันคนผู้ต้องการสวรรค์ทำ). กรฺ กรเณ, ตุ. กตฺตก
  24. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบา, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิที่สำเร็จด้ว การแต่งขึ้น และมีความืดาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตาาติ กถา. กถีตีติ วา กถา. กถเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิํ อา. ส. กถา.
  25. กพฺพ : (นปุ.) กาพ์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทใช้หมาถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้าฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺ
  26. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวว) เป็นเครื่องทำเสีงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรีเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ุ.
  27. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตีบ (ตะลุ่มปากผา มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรีตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  28. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาล ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  29. กรีส : (ปุ. นปุ.) อาหารเก่า, อุจจาระ, ขี้, กรีษ. วิ. กุจฺฉิตพฺพนฺติ กรีสํ. กุ กุจฺฉิเต, อิโส, กุสฺส กรตฺตํ, ทีโฆ. รูปฯ ๖๖๗. อภิฯ วิ. กรีตีติ กรีสํ. กิรฺ วิกิรเณ, อีโส, กรฺ กรเณ วา. ส. กรีษ.
  30. กลส : (ปุ.) ตุ่ม, ไห, ถ้ว, หม้อน้ำ, กลส กลศ ชื่อภาชนะ มีรูปเหมือนคนโทน้ำ มีฝาปิด และมีพวเหมือนกาน้ำ สำหรับใส่น้ำเทพ- มนต์ ของพราหมณ์ วิ. เกน ลสตีติ กลโส. กปุพฺโพ ลสฺ กนฺติํ, อ. เกน ลิสฺสตีติ วา กลโส. ลิสฺ สิเลสเน, อ, อิสฺสตฺตํ, กลีตีติ วา กลโส. กลฺ สงฺขฺาเณ, อโส. ส. กลศ.
  31. กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลีเต เอกาทินา สํขฺเตติ กลา. กลฺ สํขฺาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
  32. กลาร กฬาร : (ปุ.) ดำเหลือง, สีดำเหลือง, ดำแดง, สีดำแดง, สีน้ำตาลอ่อน, สีคล้ำ. วิ. เอเตน คุณํ กลีตีติ กลาโร กฬาโร วา. กลฺ สํขฺาเณ, อาโร.
  33. กลิ : (ปุ.) ความพ่าแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลีตีติ กลิ. กลฺ สํขฺาเณ, อิ.
  34. กลีร กฬีร : (ปุ.) ไม้ที่งอก, หน่อไม้ (ที่งอกจาก หัวหรือเหง้า), อดไม้, หวกกล้ว. วิ. อเนน ถูลาทิ กลีตีติ กลีโร. กลฺ สํขฺาเณ, อีโร.
  35. กาพฺ : (นปุ.) คำของกวี, กาพ์ ชื่อของคำ ร้อกรองทั่วไป. กาพ์ ไทใช้เป็นชื่อของ คำร้อกรองชนิดหนึ่งคล้าฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพ์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺ กาพฺ.
  36. กามิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ฺ อาคม.
  37. กาปาคพฺภิ : นป. ดู กาปาคพฺภินิ
  38. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณา ภาโว การุญฺญํ. ณฺปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณ์. ณฺ ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺ.
  39. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณา นิุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎าทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณา อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎าทิตัท.
  40. กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทาเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเค ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
  41. กิพฺพิส : (นปุ.) บาป, โทษ, ความผิด. วิ. กโรติ อนิฏฺฐ ผลนฺติ กิพฺพิสํ. กรีตีติ วา กิพฺพิสํ. กรฺ กรเณ, อิพฺพิโส. กิลฺเต สิถิลี กรีเต อเนนาติ วา กิพฺพิสํ. กลฺ สิถิเล. ลบที่สุดธาตุ.
  42. กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชีร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติํ, อ. กลีตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
  43. เกูร : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไล, สร้อ, สา สร้อ, อิทรธนู (อิน-ธะนู). เก สทฺเท, อูโร, ฺ อาคโม. เป็นเกุร ก็มี. ส. เกูร
  44. โกกนท โกกนุท : (นปุ.)บัวแดง,โกกนุท.วิ.โกเก นาทตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.โกกปุพฺโพ, นทฺ อพฺตฺตสทฺเท, อ.อภิฯ ลง ณ ปัจ. เก กนตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โท, อสฺโส. ส. โกกนท.
  45. โกเล : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลโก. เณ ปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  46. ขาทนี : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ว, ของเคี้วกิน, ของควรเคี้วกิน, ของ กิน (กเว้นโภชนะ ๕), ขาทนีะ ได้แก่ าคู ามกาลิก สัตตาหกาลิก และ าวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนีะบางอ่างก็ ไม่ต้องเคี้วเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนีด้ว.
  47. คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺ ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺ แปลง มฺ เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  48. คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- าโ. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่นอักษร.
  49. คีเว คีเว : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวาํ ภวํ คีเวํ. คีวา อาภรณํ วา คีเวํ คีเวกํ วา. เอ ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณ เณก ปัจ.
  50. โคมีฬฺห : ป. ดู โคม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-495

(0.0253 sec)