Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รุ่งเช้า, เช้า, รุ่ง , then ชา, เช้า, รง, รงชา, รุ่ง, รุ่งเช้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รุ่งเช้า, 339 found, display 151-200
  1. สปชาปติก : ค. กับภรรยาของตน
  2. สมชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติเสมอกัน, ผู้มีชาติทัดเทียมกัน.
  3. สมฺผสฺสชาเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเกิดจากสัมผัส, ความเสวยอารมณ์ที่เกิดจากสัมผัส.
  4. สมฺมชฺชา : (อิต.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
  5. หตฺถาชานิย หตฺถาชาเนยฺย : (ปุ.) ช้างอาชาไนย.
  6. อคฺคิชาลน : (นปุ.) การจุดไฟ, การบูชาไฟ.
  7. องฺควิชฺชา : (อิต.) วิชาทำนายอวัยวะ, วิชาดูลายมือ, วิชาดูลักษณะแห่งบุรุษสตรี, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  8. อชฺช, อชฺชา : อ. ในวันนี้, เดี๋ยวนี้
  9. อฏฺฐิมิญฺชา : อิต. เยื่อในกระดูก
  10. อตถาชาติก : (วิ.) มีกำเนิดไม่เหมือนกัน
  11. อตฺรชา : (อิต.) หญิงผู้เกิดแต่ตน, ลูกหญิง, ลูกสาว.
  12. อนฺโตชาลิกต : ค. ถูกตะล่อมเข้าในข่าย, อยู่ในข่าย
  13. อนาชานิย : ค. มิใช่อาชาไนย
  14. อนุปพฺพชา : อิต. การออกบวชตาม
  15. อเนกสสารอเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสารอัน...พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่หนึ่ง.
  16. อเนกสสาร อเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสาร อัน... พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่ หนึ่ง.
  17. อปฺปรชกฺขชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งบุคคลผู้มีธุลีในนัยน์ตาน้อย, ผู้มีกิเลสธุลีในดวงตาน้อย.
  18. อพฺภนุชานาติ : ก. ยินยอม, เห็นชอบด้วย
  19. อภิชาติก : ค. ผู้เกิดในตระกูล
  20. อภิชานาติ : ก. รู้ยิ่ง, ช่ำชอง
  21. อมฺพุชากร : (ปุ.) บ่อ, บึง, สระ, ทะเลสาป.วิ.อมฺพุชานํอากโรอุปฺปตฺติฏฺฐานํอมฺพุชากโร.
  22. อวชานาติ : ก. ดูถูก, เหยียดหยาม, ปฏิเสธ, ไม่รับรู้
  23. อวิชฺชา : (อิต.) ความไม่รู้, ความไม่รู้จริง, ความหลงคือไม่รู้จริง, ความเขลา, อวิชชา(ความไม่รู้อริยสัจ ๔).นปุพฺโพ, วิทฺ ญาเณ, โณย, ทฺยสฺสชโช.
  24. อสฺสาชานิย : ป. ม้าอาชาไนย, ม้าพันธุ์ดี
  25. อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
  26. อหิวิชฺชา : อิต. วิชาหมองู คือการทายโชคชาตาโดยอาศัยงู
  27. อาชานีย : ป. ๑. ม้าอาชาไนย, ม้ามีไหวพริบดี, ม้าพันธุ์ดี, บุรุษผู้ประเสริฐ ; ๒. ได้รับอบรมมาดี, มีกำเนิดดี, รู้ได้เร็ว
  28. อาชานียตา : อิต. ความเป็นผู้เกิดมาจากตระกูลที่ดี, ความเป็นผู้ประเสริฐ
  29. อาชานียสฺสุ : ป. ลูกม้าอาชาไนย
  30. อิชฺชา : (อิต.) การบูชา, ฯลฯ, การชุมนุม. ยชฺ ธาตุ ณฺย ปัจ. แปลง ย เป็น อิ แปลง ชฺย เป็น ชฺช อา อิต.
  31. อิสิปพฺพชา : อิต. การสละบ้านเรือนออกบวชเป็นฤษี
  32. อุปชานาติ : ก. เรียน, รู้, ทราบ
  33. อุมฺมุชฺชนิมุชฺชา : อิต. การโผล่ขึ้น, และดำลง
  34. อุมฺมุชฺชา : อิต. การโผล่ขึ้น
  35. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  36. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  37. เอหิภิกฺขุปพฺพชา : (อิต.) การบวชด้วยพระ ดำรัสว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด.
  38. ชคู : (ปุ.) สัตว์ผู้ถึงความเกิด (จากตาย) วิ. จุติโต ชาตึ คจฉตีติ ชคู. ชาตปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู. ลบ ติ เหลือ ชา รัสสะ และลบ ที่สุดธาตุ.
  39. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  40. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  41. ชาน ชานน : (นปุ.) อันรู้, ความรู้, ญา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ญา เป็น ชา ยุ เป็น อน, อานน. ส. ชานน.
  42. ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
  43. ธาม : (นปุ.) ความเกิด. ชนฺ+ม ปัจ. แปลง ชนฺ เป็น ชา แปลง ชา เป็น ธา.
  44. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  45. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  46. สมฺปชาน : (วิ.) รู้ทั่วพร้อม, รู้รอบคอบ, รอบรู้, รู้สึกตัวรู้ตัว. วิ. สมฺปชานาตีติ สมฺปชาโน. สํ ป ปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ, ญาสฺส ชา.
  47. สุชมฺปติ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นพระสวามีของนางสุชา, ท้าวสุชัมบดี ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สุชาย อสุรกญฺญาย ปติ สุชมฺปติ. รัสสะ อา ที่ ชา ลงนิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
  48. สุวิชาน : (วิ.) ผู้รู้ดี. สุ วิ ปุพฺโพ, ญา ญาเน, ยุ. แปลง ญา เป็น ชา.
  49. กตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำ แล้วแก่ตน โดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตญฺญู. ผู้มีปกติรู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแก่ตน วิ. กตํ ชนิตุ   สีล มสฺสาติ กตญฺญู. ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล อื่นทำแล้วแก่ตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาตีติ กตญฺญู. ผู้รู้คุณท่าน. กตปุพฺโพ, ญา  ญาเณ, รู.
  50. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-339

(0.0437 sec)