Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รุ่งเช้า, เช้า, รุ่ง , then ชา, เช้า, รง, รงชา, รุ่ง, รุ่งเช้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รุ่งเช้า, 339 found, display 251-300
  1. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  2. ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
  3. ตุทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ตุทมฺปติ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ตุทํอาเสโท. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓.
  4. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  5. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  6. ถลช : (วิ.) เกิดในที่ดอน วิ. ถเล ชาโต ถลโช.
  7. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  8. ทนฺธ : (วิ.) โง่, เขลา, เงื่อง, เฉื่อย, เฉื่อยชา, เฉื่อยช้า, ช้า, ทราม. ทธิ อสีฆจาเร, อ.
  9. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขลา
  10. ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
  11. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  12. ทีฆสุตฺต : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้ชักช้า, ผู้เฉื่อย ชา, ผู้ผัดวันประกันพรุ่ง. วิ. โย อาลสฺ ยาวสาทีหิ อนุติฏฺฐติ โส ทีฆสุตฺโต, ทีฆญฺจ ตํ สุตฺตญฺจ ตมิว จรตีติ ทีฆสุตฺตํ, ทีฆสุตฺตปริยนฺติกํ การิยํ กโรตีติ ทีฆสุตฺโต. ฎีกาอภิฯ.
  13. โทสสญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ซึ่งโทษ, คนรู้จักโทษ, คนมีปัญญา, คนมีปรีชา, นักปราชญ์, วิ. โทสํ ชานาคีติ โทสญฺญู. คนผู้รู้โทษ โดยปกติ, ฯลฯ. โทส+ญา ธาตุ รู ปัจ.
  14. ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
  15. นาสิกาโรค : (ปุ.) โรคเกิดในจมูก, ริดสีดวง จมูก, มองคร่อ, หวัด, ไข้หวัด. วิ. นาสิกาย ชาโต โรโค นาสิกาโรโค.
  16. ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)
  17. ปโทล : (ปุ.) กระดอม, ขี้กา, เทพชาลี. วิ. ปํ สีสโรคาทิกํ วา ทวติ ทุโนติ วา หึสติ วินาเสตีติ ปโทโล. ปปุพฺโพ, ทุ หึสายํ, โล, อโล วา.
  18. ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
  19. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  20. พฺยาปชฺฌ : (นปุ.) ความเบียดเบียน ความพยาบาท. วิ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺยฺ แปลง อิ เป็น ย ทฺย เป็น ชฺฌ. เป็น พฺยาปชฺฌา พฺยาปชฺชา บ้าง.
  21. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  22. ภคุ : (ปุ.) ภคุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ภํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ ภคุ, ภปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. ภรตีติวา ภคุ. ภรฺ ภรเณ, คุ, รฺโลโป.
  23. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  24. มชฺชาร : (ปุ.) แมว วิ. ลีหเณน อตฺตโน สรีรํ มชฺชติ นิมฺ-มลตฺตํ กโรตีติ มํชฺชาโร. มชฺ สุทฺธิยํ, อโร, นิคฺคหิ-ตาคโม. มชฺชฺ สุทฺธิยํ, อา-โร.
  25. มชฺฌิม : (วิ.) มีในท่ามกลาง, เกิดในท่ามกลาง, ปานกลาง, ปูนกลาง, วิ. มชฺ-เฌ ภโว มชฺฌิโม. มชฺเฌ วา ชาโต มชฺฌิโต มชฺฌิ-โม. อิม ปัจ.
  26. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  27. มนฺทิย : นป. ความเฉื่อยชา, ความขี้เกียจ, ความโง่เง่า
  28. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  29. มาลตี : (อิต.) ชาติบุษย์ (บัวชนิดหนึ่ง), มะลิ, มะลิซ้อน, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งในวรรณคดี.
  30. มาสก : (ปุ.) มาสก ชื่อมาตรานับเงิน ๒ กุญชาเป็น ๑ มาสก ๕ มาสกเป็น ๑ บาท. มสฺ อามสเน, ณฺวุ.
  31. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  32. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  33. มุรช : (ปุ.) ตะโพน วิ. มุรา อฺสุรา ชาโต มุรโช.
  34. มุหุตฺติก : (ปุ.) โหร ชื่อหมอดูฤกษ์ ผู้ชำนาญทางดาราศาสตร์เกี่ยวกับการพยากรณ์ วิ. มุหุตฺตํ กาลวิเสสํ ชานาตีติ มุหุตฺติโก. ณิก ปัจ.
  35. ยุคนฺต : (ปุ.) ความสุดสิ้นกัลป์, ขัยกัลป์. วิ. ยุคาน มนฺเต ชาโต ยุคนฺโต.
  36. ยูถ : (ปุ. นปุ.) ฝูง, โขลง, หมู่, หมู่แห่งสัตว์ดิรัจฉานผู้มีชาติเสมอกัน. วิ. สชาติยติรจฺฉานานํ คโณ ยูโถ. ยุ มิสฺสเน, โถ.
  37. รญฺชน : (นปุ.) การย้อม, ความย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี. วิ. รญฺชนํ รญฺชนํ จันทร์แดง. ว. รญฺชาเปตีติ รญฺชนํ. รญฺชฺราเค, ยุ.
  38. สพฺพญฺญู : (ปุ.) พระสัพพัญญู พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง (พระผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนมิได้). วิ. สพฺพสงฺขตมสงฺตตํ อนวเสสํ ชานาตีติ สพฺพญฺญู. รู ปัจ. สรรพัชญ์ สรรเพชญ์สองคำนี้เขียนตามรูปสันสกฤต. ส. สรฺวชฺฌ.
  39. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  40. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  41. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  42. สมฺพร : (ปุ.) สมพร ชื่ออสูรพิเศษ วิ. สํ ปสตฺโถ วโร ชามาตา ยสฺส โส สมฺพโร.
  43. สสฺสุ : (อิต.) แม่ผัว, แม่ยาย. สสฺ หึสามาเนสุ, สุ. ชายาปตีนํ ทฺวินฺนํ ชนนี มาตุ สสฺสุ.
  44. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  45. สาริก : (ปุ.) ต้นไม้, รัง, ต้นรัง, ต้นสาละ. วิ. สาหิ เภสชฺชาจริเยหิ นานาโรคสฺส ติกิจฺฉนตฺถาย ลายเตติ สาโล. สาสทฺโท อาจริเย, ลา อาทาเน, อ. เป็น สาฬ บ้าง. ส. สาล.
  46. สุทฺทขตฺตาช : (ปุ.) บุตรเกิดแต่นางกษัตริย์ กับด้วยศูทร วิ. สุทฺเทน ขตฺตาย ชาโต ปุตฺโต สุทฺทขตฺตาโธ.
  47. สุธารส : (ปุ.) รสทิพย์, น้ำใจ, ความใคร่?. สุธารส ราชาศัพท์ว่า น้ำชา.
  48. สุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ชื่อบัวชนิดหนึ่ง, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ในวรรณคดี, มะลิ, มะลิซ้อน, สุมนา ชื่อคนผู้หญิง.
  49. สุรงฺค : (ปุ.) สีงาม, สีดี, สีงามเรืองรอง, สีฉูดฉาด, สุรงค์, สุหรง (สีงาม สีจัด สีฉูดฉาด). สุนฺทร+รงฺค. ส. สุรงฺค.
  50. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-339

(0.0402 sec)