Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เช้าตรู่, เช้า, ตรู่ , then ชา, ชาตร, เช้า, เช้าตรู่, ตร, ตรู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เช้าตรู่, 376 found, display 201-250
  1. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  2. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  3. เอหิภิกฺขุปพฺพชา : (อิต.) การบวชด้วยพระ ดำรัสว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด.
  4. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  5. ชคู : (ปุ.) สัตว์ผู้ถึงความเกิด (จากตาย) วิ. จุติโต ชาตึ คจฉตีติ ชคู. ชาตปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู. ลบ ติ เหลือ ชา รัสสะ และลบ ที่สุดธาตุ.
  6. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  7. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  8. ชาน ชานน : (นปุ.) อันรู้, ความรู้, ญา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ญา เป็น ชา ยุ เป็น อน, อานน. ส. ชานน.
  9. ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
  10. ธาม : (นปุ.) ความเกิด. ชนฺ+ม ปัจ. แปลง ชนฺ เป็น ชา แปลง ชา เป็น ธา.
  11. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  12. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  13. สมฺปชาน : (วิ.) รู้ทั่วพร้อม, รู้รอบคอบ, รอบรู้, รู้สึกตัวรู้ตัว. วิ. สมฺปชานาตีติ สมฺปชาโน. สํ ป ปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ, ญาสฺส ชา.
  14. สุชมฺปติ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นพระสวามีของนางสุชา, ท้าวสุชัมบดี ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สุชาย อสุรกญฺญาย ปติ สุชมฺปติ. รัสสะ อา ที่ ชา ลงนิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
  15. สุวิชาน : (วิ.) ผู้รู้ดี. สุ วิ ปุพฺโพ, ญา ญาเน, ยุ. แปลง ญา เป็น ชา.
  16. กตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำ แล้วแก่ตน โดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตญฺญู. ผู้มีปกติรู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแก่ตน วิ. กตํ ชนิตุ   สีล มสฺสาติ กตญฺญู. ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล อื่นทำแล้วแก่ตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาตีติ กตญฺญู. ผู้รู้คุณท่าน. กตปุพฺโพ, ญา  ญาเณ, รู.
  17. กตฺถ กตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ตฺถ, ตฺร ปัจ. แปลง กึ เป็น ก.
  18. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  19. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  20. กรช : (วิ.) เกิดในน้ำ, เกิดในกาย. วิ. กเร ชายตีติ กรโช. กรปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. เกิดจากกระ คือน้ำสัมภวะของมารดาและ บิดา วิ. กรา สมฺภวา ชาโต กรโช.
  21. กรชกาย กรชฺชกาย : (ปุ.) กายอันเกิดแต่ธุลี ในน้ำ, กายอันเกิดแต่ความรักของพรหม คือมารดาและบิดา วิ. กรชา ชาโต กาโย กรชกาโย. กายอันเกิดจากกระคือน้ำ สัมภวะของมารดาและบิดา วิ. กรโช กาโย กรชกาโย. ศัพท์หลังซ้อน ชฺ. กรญฺช
  22. การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
  23. กาลญฺญู : (วิ.) ผู้รู้กาล, ผู้รู้จักกาล. วิ. กาลํ ชานาตีติ กาลญฺญู. ผู้รู้จักกาลโดยปกติ วิ. กาลํ ชานาติ สีเลนาติ กาลญฺญู. รู ปัจ. แปลง และ วิ. ได้อีก ดู ธมฺมจารี.
  24. กุช : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. กุโต ชาโตติ กุโช. กุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ.
  25. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  26. กุณฺฐ : (วิ.) เกียจคร้าน, เฉื่อยชา, เงื่องหงอย, ร่อย, เหี้ยน, กระจอก (เขยก), เขยก. กุฐิ อาลสิยคติปฏิฆาเตสุ, อ.
  27. กุตฺถ กุตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. วิ. กสฺมึ ฐาเน กุตฺถ กุตฺร กึ ศัพท์ ตฺถ ตฺร ปัจ. ส. กุตฺร.
  28. กุสีต : ค. เกียจคร้าน, เฉื่อยชา
  29. กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
  30. โกล : (วิ.) เกิดในสกุล, เชื้อสายในสกุล, เกี่ยวใน สกุล. วิ. กุเล ชาโต โกลํ. กุเล นิยุตโต โกลํ, ณ ปัจ.
  31. โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  32. ขุทฺทปุปฺผิย : (ปุ.) ชิงช้าชาลี ชื่อเถาวัลิชนิด หนึ่ง ใช้ทำยาไทย, เข็ม, ต้นเข็ม, ดอกเข็ม.
  33. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  34. คงฺเคยฺย : (วิ.) เกิดในแม่น้ำคงคา, อยู่ในแม่น้ำ คงคา. วิ. คงฺคาย ชาโต คงฺเคยฺโย. คงฺคาย วสตีติ คงฺเคยฺโย. เณยฺย ปัจ. ราคาทิตัท. รูปฯ ๓๖๒.
  35. คชฺชิต : (ปุ.) ช้างซับมัน. วิ. คชฺโช สญฺชาโต ยสฺส โส คชฺชิโต. อิต ปัจ.
  36. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  37. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  38. คิมฺห : (ปุ.) เดือนเกิดแล้วในฤดูร้อน วิ. คิเมฺห ชาโต คิโมฺห. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รุปฯ ๓๖๒.
  39. โคตฺถุล : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. โคตฺเต วํเส สึคาลชาติยํ อลนฺติ โคตฺถุโล, กัจฯ ๖๖๕.
  40. โคปฺผิม : (วิ.) เกิดที่เท้า, มีที่ข้อเท้า. โคปฺผ ศัพท์ อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  41. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  42. จาหา : (อิต.) น้ำชา ?
  43. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  44. จิรกฺริย : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้เฉื่อยชา, ผู้ผลัด วันประกันพรุ่ง. วิ. จิเรน กฺริยานฺฏฺฐานํ อสฺสาติ จิรกฺริโย.
  45. จิรกิริยา : อิต. การกระทำให้ชักช้า, ความเฉื่อยชา
  46. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  47. ฉพฺพคฺคิย : (วิ.) มีพวกหก. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท
  48. ชมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชมฺปติ. ลบ ยา รัสสะ อาทีชา เป็น อ สังโยค ม. ส. ชมฺปตี.
  49. ชลช : (วิ.) เกิดในน้ำ วิ . ชเล ชาโต ชลโช. กฺวิปัจ. หรือว่าเป็น ส.ตัป. ก็ได้ รูปฯ ๕๗๐ ส. ชลช.
  50. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-376

(0.0617 sec)