Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เช้าตรู่, เช้า, ตรู่ , then ชา, ชาตร, เช้า, เช้าตรู่, ตร, ตรู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เช้าตรู่, 376 found, display 251-300
  1. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  2. ชาตสร ชาตสฺสร : (ปุ.) สระอันเกิดแล้ว วิ. ชาตํ อปจฺจํ เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา. ชาโต วา ปุตฺโต เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา.
  3. ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
  4. ชาติสุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ ชื่อบัว, มะลุลี ชื่อต้นไม้ในวรรณคดี, ดอกบัว, มะลิ, มะลิซ้อน.
  5. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  6. ชายาปติ : ป. ดู ชายมฺปติก
  7. ชาร : (ปุ.) ชายที่รัก, ชายชู้. วิ. ชียนฺติ อเนนา ติ ชาโร. ชรฺ วโยหานิมฺหิ, โณ. อภิฯลง อ ปัจ. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ ๔๔ วิ. ชีรยติ เอ- เตนาติ ชาโร. ฆณฺปัจ. ชาโร วุจฺจติ โจร – สามิโก. ส. ชาร.
  8. ชิน : (ปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเสื่อม สิ้น, ความย่อยยับ. ชิ ชานิยํ, อิโน. ผักชี ล้อม ก็ แปล.
  9. ฌามก ฌาวุก : (ปุ.) ไม้ชาเกลือ? ไม้กรดมูก, ไม้ชิงชี่. ชิงขี้ ก็เรียก.
  10. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  11. ญาต : (วิ.) ผู้รู้ วิ. ชานาตีติ ญาโต. อันเขารู้ วิ. ญาตพฺพนฺติ ญาตํ ญาธาตุ ต ปัจ.
  12. ตตฺถ ตตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...นั้น, ในที่นั้น วิ. ตสฺมึ ฐาเน ตตฺถ ตตฺร วา. ต ศัพท์ ตถฺ ตรฺ ปัจ.
  13. ตนฺทิ : อิต. ความหลับ, ความประมาท, ความเฉื่อยชา, ความเหนื่อยอ่อน, ความขี้เกียจ
  14. ตนฺทิต : ค. เมื่อย, เฉื่อยชา, ขี้เกียจ
  15. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  16. ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
  17. ตรจฺฉ : (ปุ.) เสือดาว, หมาป่า, หมาไน. ตรฺ ตรเณ, โฉ. แปลง ฉ เป็น จฺฉ หรือไม่แปลง ซ้อน จฺ ก็ได้.
  18. ตรณ : (นปุ.) อันข้าม, อันข้ามไป, อันข้ามน้ำ ไป, อันข้ามแม่น้ำไป, การข้าม, ฯลฯ, เรือ. ตรฺ ตรเณ, ยุ. ส. ตรณ.
  19. ตรล : (วิ.) กลิ้ง, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, หมุนรอบตัว, ลอยไป, ปลิวไป. ตรฺ สมฺภมปฺลวเนสุ, อโล.
  20. ตรุณี : (อิต.) หญิงรุ่น,หญิงสาว. ตรฺ ตรเณ, อุโณ, อิตฺถิยํ อี หรือลง ยุ ปัจ.แปลงเป็น อณ เป็น ตรณ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ แล้วลง อี อิต.
  21. ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
  22. ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
  23. ติ : (ไตรลิงค์) สาม. ส. ตฺรย ตฺริ ไตฺร.
  24. ติตฺตก : (ปุ.) กระดอม, เทพชาลี, ขี้กา. ทั้ง ๓ ชนิดนี้เป็นไม้เลื้อย ผลมีรสขม ใช้ทำยา ไทย. ติตฺตรสตาย ติตฺตโก. ก สกัด.
  25. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  26. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  27. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  28. ติริม : (นปุ.) หมอก. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
  29. ติริย : (วิ.) ขวาง, กว้าง. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
  30. ติรีฏก : (นปุ.) เปลือกไม้. ตรฺ ตรเณ, อีโต, สกตฺเถ โก ตสฺส โฏ, อสฺสิ.
  31. ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
  32. ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
  33. ตุณฺณ : (วิ.) พลัน, เร็ว, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. แปลง รฺ เป็น ณฺ ยุ เป็น อณ.
  34. ตุทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ตุทมฺปติ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ตุทํอาเสโท. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓.
  35. ตุริต : (วิ.) รีบ,เร็ว, พลัน, ด่วน. ตรฺ ตรเณ, โต, อสฺสุ, อิอาคโม. ตุรฺ สีฆคติยํ วา, โต, อิอาคโม.
  36. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  37. โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
  38. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  39. ถรุ : (ปุ.) ด้าม เช่นด้ามกระบี่เป็นต้น วิ. ตรตีติ ถรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ, ตสฺส โถ, อถวา, ถรฺ สตฺถคติยํ, อุ. ถรุ เป็นชื่อของอาวุธทั่วๆ ไปก็มี เพลงอาวุธ ก็แปล.
  40. ถลช : (วิ.) เกิดในที่ดอน วิ. ถเล ชาโต ถลโช.
  41. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  42. ทนฺธ : (วิ.) โง่, เขลา, เงื่อง, เฉื่อย, เฉื่อยชา, เฉื่อยช้า, ช้า, ทราม. ทธิ อสีฆจาเร, อ.
  43. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขลา
  44. ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
  45. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  46. ทีฆสุตฺต : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้ชักช้า, ผู้เฉื่อย ชา, ผู้ผัดวันประกันพรุ่ง. วิ. โย อาลสฺ ยาวสาทีหิ อนุติฏฺฐติ โส ทีฆสุตฺโต, ทีฆญฺจ ตํ สุตฺตญฺจ ตมิว จรตีติ ทีฆสุตฺตํ, ทีฆสุตฺตปริยนฺติกํ การิยํ กโรตีติ ทีฆสุตฺโต. ฎีกาอภิฯ.
  47. โทสสญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ซึ่งโทษ, คนรู้จักโทษ, คนมีปัญญา, คนมีปรีชา, นักปราชญ์, วิ. โทสํ ชานาคีติ โทสญฺญู. คนผู้รู้โทษ โดยปกติ, ฯลฯ. โทส+ญา ธาตุ รู ปัจ.
  48. ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
  49. นาสิกาโรค : (ปุ.) โรคเกิดในจมูก, ริดสีดวง จมูก, มองคร่อ, หวัด, ไข้หวัด. วิ. นาสิกาย ชาโต โรโค นาสิกาโรโค.
  50. ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-376

(0.0506 sec)