Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เช้าตรู่, เช้า, ตรู่ , then ชา, ชาตร, เช้า, เช้าตรู่, ตร, ตรู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เช้าตรู่, 376 found, display 51-100
  1. ชาติสฺสร : ค. ผู้ระลึกชาติได้
  2. ชาติสสาร : ป. การเวียนว่ายตายเกิด
  3. ชาติสินฺธว : ป. ม้าที่ฝึกดี, ม้าประเสริฐ
  4. ชาติสุวณฺณ : นป. ทองคำธรรมชาติ, ทองเนื้อดี, ทองแท้
  5. ชาติหิงฺคุลก : นป., ค. สีแดงตามธรรมชาติ
  6. ชาตุ : (วิ.) ผู้เกิด
  7. ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
  8. ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
  9. ชานิตุ : ก. การรู้, การเข้าใจ; เพื่ออันรู้, เพื่ออันเข้าใจ
  10. ชานิย ชานี : (วิ.) ผู้มีความเสื่อม, ฯลฯ. อิยปัจ. อี ปัจ.
  11. ชานิยา : ก. พึงรู้, พึงทราบ, พึงเข้าใจ
  12. ชานุปฺปมาณอุรุปฺปมาณกฏิปฺปมาณาทิ : (วิ.) มีน้ำมีเข่าเป็นประมาณและมีน้ำมีขาอ่อน เป็นประมาณ และมีน้ำมีสะเอว เป็นประ มาณเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตุล, ฉ. ตุล., ฉ.ตุล. และ ส.ทวัน. เป็นท้อง.
  13. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  14. ชาปิก : (วิ.) อันยัง...ให้เกิด. ชนฺ ธาตุ ณาเป ปัจ. และ อิก ปัจ.
  15. ชามี : อิต. น้องสาว, พี่สาว
  16. ชาเมยฺย : ป. ลูกของน้องสาวพี่สาว, หลาน
  17. ชายมฺปติก : ป. ชายาและบดี, ภรรยาและสามี, เมียและผัว, เมียผัว
  18. ชายิกา : อิต. ดู ชายา
  19. ชารา ชารี : (อิต.) หญิงที่รัก, หญิงมีชู้, หญิงชู้.
  20. ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
  21. ชาเลติ : ก. ให้โพลง; ลุกโพลง, ติดไฟ, สว่างไสว, รุ่งเรือง
  22. พหุตร : (วิ.) มากกว่า. พหุ+ตร ปัจ.
  23. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  24. ขตฺติยชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติแห่งกษัตริย์ วิ. ขตฺติยชาติยา ชาโต ขตฺติยชา ติโย. อิย ปัจ.
  25. คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
  26. จิตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้ในเรื่องของจิต, วิชชา ว่าด้วยจิต, จิตตวิทยา, จิตวิทยา. วิ. จิตตฺวตฺถุมฺหิ วิชฺชา จิตฺตวิชฺชา.
  27. ตริ ตรี : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, แพ. ตรฺ ตรเณ. รูปฯ ลงอิ ปัจ. อภิฯ ลง อี ปัจ.
  28. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  29. ตรุ : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. ตรนฺติ อเนนาติ ตรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ.
  30. ติร : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย,ต่ำทราม. ติรฺ อโธคติยํ, อ.
  31. ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
  32. ตุร : (วิ.) รีบ, เร็ว, พลัน, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, อ.ตุร.
  33. ตุริ : (นปุ.) วัตถุไปเร็ว, กระสวย. ตุรฺ สีฆคติยํ, อิ.
  34. นิปชฺชา : (อิต.) การถึง, การนอน. วิ.นิปชฺชนํ นิปชฺชา. นิ ปทฺ+ณฺย ปัจ.
  35. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  36. พาหิรปพฺพชฺชา : อิต. ดู พาหิรกปพฺพชฺชา
  37. มนุสฺสชาติย : (วิ.) ผู้เกิดแล้วโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติมนุษย์. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  38. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  39. อเนญฺชาภิสงฺขาร : (ปุ.) อภิสังขารคืออเนญชาหมายเอารูปฌานที่ ๔ และ อรูปฌาน ๔.
  40. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  41. อาชาเนยฺย : ป. ดู อาชานีย
  42. อินฺทชาลิก : (ปุ.) คนเล่นกล, คนเจ้าเล่ห์, คนเจ้ามายา. วิ. อินฺทชาเล นิยุตฺโต อินฺทชาลิโก.
  43. เอชฺชา : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความหวั่นไหว. วิ. อญฺชนํ เอชฺชา. อิญฺช กมฺปเน, โณฺย.
  44. เอชา : (อิต.) เอชา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, เอชา วุจฺจติ ตณฺหา. ความปรารถนาจัด, ความอยากได้จัด, ความปรารถนา. ความอยากได้, ความแสวงหา, ความหวั่นไหว. วิ เอชตีติ เอชา. เอชฺ กมฺปเน, อ. เอชนํ วา เอชา.
  45. กณฺหาภิชาติก : ค. ผู้เกิดในตระกูลต่ำ
  46. กตชาติหิงฺคุลิก : ค. ตกแต่งแล้วด้วยสีแดงอันบริสุทธิ์
  47. กตฺตริ, - ริกา, - ตรี : อิต. กรรไกร, ตะไกร, มีด; กลาสี
  48. กปฺปชาติก : ค. ผู้เป็นคนตระกูลกัลบก, ผู้เกิดในตระกูลช่างตัดผม
  49. กลฺยาณชาติก : ค. ผู้มีชาติอันงาม
  50. กวจชาลิกา : อิต. เสื้อเกราะ
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-376

(0.0712 sec)