Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เช้าตรู่, เช้า, ตรู่ , then ชา, ชาตร, เช้า, เช้าตรู่, ตร, ตรู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เช้าตรู่, 376 found, display 301-350
  1. ปโทล : (ปุ.) กระดอม, ขี้กา, เทพชาลี. วิ. ปํ สีสโรคาทิกํ วา ทวติ ทุโนติ วา หึสติ วินาเสตีติ ปโทโล. ปปุพฺโพ, ทุ หึสายํ, โล, อโล วา.
  2. ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
  3. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  4. พฺยาปชฺฌ : (นปุ.) ความเบียดเบียน ความพยาบาท. วิ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺยฺ แปลง อิ เป็น ย ทฺย เป็น ชฺฌ. เป็น พฺยาปชฺฌา พฺยาปชฺชา บ้าง.
  5. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  6. ภคุ : (ปุ.) ภคุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ภํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ ภคุ, ภปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. ภรตีติวา ภคุ. ภรฺ ภรเณ, คุ, รฺโลโป.
  7. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  8. มชฺชาร : (ปุ.) แมว วิ. ลีหเณน อตฺตโน สรีรํ มชฺชติ นิมฺ-มลตฺตํ กโรตีติ มํชฺชาโร. มชฺ สุทฺธิยํ, อโร, นิคฺคหิ-ตาคโม. มชฺชฺ สุทฺธิยํ, อา-โร.
  9. มชฺฌิม : (วิ.) มีในท่ามกลาง, เกิดในท่ามกลาง, ปานกลาง, ปูนกลาง, วิ. มชฺ-เฌ ภโว มชฺฌิโม. มชฺเฌ วา ชาโต มชฺฌิโต มชฺฌิ-โม. อิม ปัจ.
  10. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  11. มนฺทิย : นป. ความเฉื่อยชา, ความขี้เกียจ, ความโง่เง่า
  12. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  13. มาลตี : (อิต.) ชาติบุษย์ (บัวชนิดหนึ่ง), มะลิ, มะลิซ้อน, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งในวรรณคดี.
  14. มาสก : (ปุ.) มาสก ชื่อมาตรานับเงิน ๒ กุญชาเป็น ๑ มาสก ๕ มาสกเป็น ๑ บาท. มสฺ อามสเน, ณฺวุ.
  15. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  16. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  17. มุรช : (ปุ.) ตะโพน วิ. มุรา อฺสุรา ชาโต มุรโช.
  18. มุหุตฺติก : (ปุ.) โหร ชื่อหมอดูฤกษ์ ผู้ชำนาญทางดาราศาสตร์เกี่ยวกับการพยากรณ์ วิ. มุหุตฺตํ กาลวิเสสํ ชานาตีติ มุหุตฺติโก. ณิก ปัจ.
  19. ยุคนฺต : (ปุ.) ความสุดสิ้นกัลป์, ขัยกัลป์. วิ. ยุคาน มนฺเต ชาโต ยุคนฺโต.
  20. ยูถ : (ปุ. นปุ.) ฝูง, โขลง, หมู่, หมู่แห่งสัตว์ดิรัจฉานผู้มีชาติเสมอกัน. วิ. สชาติยติรจฺฉานานํ คโณ ยูโถ. ยุ มิสฺสเน, โถ.
  21. รญฺชน : (นปุ.) การย้อม, ความย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี. วิ. รญฺชนํ รญฺชนํ จันทร์แดง. ว. รญฺชาเปตีติ รญฺชนํ. รญฺชฺราเค, ยุ.
  22. โลกุตฺตร : ค. โลกุตร, สิ่งที่หลุดพ้นแล้วจากโลก
  23. สพฺพญฺญู : (ปุ.) พระสัพพัญญู พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง (พระผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนมิได้). วิ. สพฺพสงฺขตมสงฺตตํ อนวเสสํ ชานาตีติ สพฺพญฺญู. รู ปัจ. สรรพัชญ์ สรรเพชญ์สองคำนี้เขียนตามรูปสันสกฤต. ส. สรฺวชฺฌ.
  24. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  25. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  26. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  27. สมฺพร : (ปุ.) สมพร ชื่ออสูรพิเศษ วิ. สํ ปสตฺโถ วโร ชามาตา ยสฺส โส สมฺพโร.
  28. สสฺสุ : (อิต.) แม่ผัว, แม่ยาย. สสฺ หึสามาเนสุ, สุ. ชายาปตีนํ ทฺวินฺนํ ชนนี มาตุ สสฺสุ.
  29. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  30. สาริก : (ปุ.) ต้นไม้, รัง, ต้นรัง, ต้นสาละ. วิ. สาหิ เภสชฺชาจริเยหิ นานาโรคสฺส ติกิจฺฉนตฺถาย ลายเตติ สาโล. สาสทฺโท อาจริเย, ลา อาทาเน, อ. เป็น สาฬ บ้าง. ส. สาล.
  31. สุทฺทขตฺตาช : (ปุ.) บุตรเกิดแต่นางกษัตริย์ กับด้วยศูทร วิ. สุทฺเทน ขตฺตาย ชาโต ปุตฺโต สุทฺทขตฺตาโธ.
  32. สุธารส : (ปุ.) รสทิพย์, น้ำใจ, ความใคร่?. สุธารส ราชาศัพท์ว่า น้ำชา.
  33. สุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ชื่อบัวชนิดหนึ่ง, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ในวรรณคดี, มะลิ, มะลิซ้อน, สุมนา ชื่อคนผู้หญิง.
  34. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  35. เสณิ : (ปุ.) หมู่คนมีศิลปะมีชาดเสมอกัน วิ. สชาตีนํ เตสํ สิปฺปีนํ สํฆาโต เสณิ. สิ เสวายํ, ณิ. คง ณ ไว้.
  36. เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
  37. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  38. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  39. หสวตีนคร : (นปุ.) นครหงสวดี พระนครหงสาวี ชื่อเมืองหลวงของชาติมอณ.
  40. หึลิต หึฬิต : (วิ.) ละอาย, ติเตียน, นินทา. หีฬฺ นินฺทาลชฺชาสุ, โต, อิ อาคโม.
  41. องฺคชาต : (นปุ.) องค์กำเนิด, องคชาต ชื่อของลับของชายและหญิง, นิมิต เครื่องหมายเพศของชายและหญิง. ส่วนมากใช้เป็นชื่อของลับของชาย แต่ในพระไตรปิฎกใช้เรียกของลับทั้งชายและหญิง. วิ.องฺค สรีเร ชายตีติ องฺคชาต. องฺคปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, โต, ชนสฺส ชาอาเทโส (แปลงชนฺเป็นชา).
  42. อชญฺญ : (นปุ.) อันตราย, จัญไร. วิ. สพฺพกาลํน ชายตีติ อชญฺญ. นปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย. แปลง ญา เป็นชา ยเป็นญฺญรัสสะอา เป็น อ.
  43. อชาอชี : (อิต.) แม่แกะ, แม่แพะ, แกะตัวเมียแพะตัวเมีย. เป็นอชฺชาอชฺชีก็มี.
  44. อชา อชี : (อิต.) แม่แกะ, แม่แพะ, แกะตัวเมีย แพะตัวเมีย. เป็น อชฺชา อชฺชี ก็มี.
  45. อญฺญา : (อิต.) พระอรหันตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง, พระอรหันตผล.วิ.ปฐมมคฺคาทีหิทิฎฺฐิมริยาทมนติกฺกมิตฺวาชานิตพฺพาติอญฺญา.รูปราคาทีนํวาปญฺจนฺนํอุทฺธมฺภาคิยสํโยชนานโมธิวเสนมารณโตอญฺญา. อาปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺ สํโยโค.
  46. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  47. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  48. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  49. อนฺโตชาต : (ปุ.) ทาสเกิดในภายในแห่งเรือน, ทาสเกิดในเรือน, ทาสในเรือน.วิ.อนฺโตเคเหทาสิยากุจฺฉิสฺมึชาโตอนฺโตชาโต.
  50. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-376

(0.0397 sec)