Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงเพลง, เสียง, เพลง , then พลง, เพลง, สยง, เสียง, เสียงเพลง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียงเพลง, 285 found, display 51-100
  1. กิริ- กิริ : อ. เสียงร้อง “กิริ- กิริ” ของนก
  2. กิลิ : ๑. อ. “ดังกิลิๆ” , ๒. อิต. เสียงที่ดัง ‘กิลิๆ’
  3. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  4. กึกิณิกา : (อิต.) กระดิ่ง ชื่อเครื่องทำเสียง สัญญาณ รูปคล้ายระฆัง, กระดึง ชื่อ เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้ รูปคล้ายกระดิ่ง ใช้แขวนคอวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงผู้เลี้ยง จะได้รู้ว่าอยู่ที่ไหน.
  5. กุกฺกุส : (ปุ.) นกผู้ออกเสียงเลียนมือ, นกเขา.
  6. กุกุร กุกุห : (ปุ.) นกเขา (ร้องเสียงกุกุ).
  7. กุงฺกุมี : ค. ซึ่งผุดนั่ง; ผู้ทำเสียงอึกทึก
  8. กุงฺกุมีย : นป. เสียงอึกทึก, โกลาหล
  9. กุชฺชติ : ก. (นก) ส่งเสียงร้อง
  10. กุญฺจการ : ป. การทำเสียงกะต๊าก (ของแม่ไก่)
  11. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  12. กูชน : นป. เสียงนกร้องเจี๊ยบจ๊าบ
  13. กูชิต : นป., ค. เสียงนกร้อง; กึกก้องด้วยเสียงนกร้อง
  14. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  15. โกตูหลสทฺท : ป. เสียงโกลาหล
  16. ขฺยาต : (วิ.) ปรากฏ, รู้, ชำนาญ, เฉียบแหลม, เฉลียวฉลาด, มีชื่อเสียง ขฺยา ปกาสเน, โต.
  17. ขิปสทฺท : (ปุ.) เสียงไอ, เสียงจาม.
  18. ขิปีตสทฺท : ป. เสียงจาม
  19. คคฺคร : นป. เสียงร้อง, เสียงคำราม
  20. คคฺครายติ : ก. ร้อง, คำราม, แผดเสียง, คราง
  21. คชฺชน : (นปุ.) การร้อง, การกระหึม, การคำรน, การคำราม, เสียงร้อง (เสียงฟ้า), ฯลฯ, ฟ้าร้อง. คชฺชฺ สทฺเท, ยุ.
  22. คชฺชนา : อิต. การร้อง, การคำราม, การแผดเสียง
  23. คชฺชิตุ : ป. ผู้ร้อง, ผู้คำราม, ผู้แผดเสียง
  24. คเทร : (ปุ.) เมฆ (มีเสียงกระหึ่ม). คทฺ เทวสทฺเท, อิโร. ส. คทามฺพร.
  25. คนฺธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนแพะร้อง วิ. คนฺธ เลสํ อรตีติ คนฺธโร. คนฺธปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. คนฺธโร เอว คนฺธาโร.
  26. คมฺภีร : (ปุ.) คัมภีระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๗ ใน ๘ อย่าง เป็นเสียงลึกสุขุม. ปญฺจนฺนํ ฐานคตีนํ ทูรฏฺฐานโต ชาตตฺตา คมฺภีโร.
  27. คลนฺตฏฺฐิ : (นปุ.) การออกเสียง, การปรากฏ. คุ สทฺเท อุคฺคเม จ, โณ.
  28. คลนาฬิ : อิต. ก้านคอ, หลอดเสียง
  29. คฬคฬายติ : ก. ประพฤติดังคละคละ, ทำเสียงคละคละ, แผดเสียง, คำราม
  30. คายก : (ปุ.) คนขับร้อง, คนร้องเพลง. เค สทฺเท, ณฺวุ. เอการสฺส อายกาโร.
  31. คายติ : ก. ขับร้อง, ร้องเพลง, สาธยาย
  32. คายน : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การขับกล่อม, การร้องเพลง, เพลงขับ. ยุ ปัจ.
  33. คีติ : (อิต.) การขับ ฯลฯ วิ. คายนํ คีติ. เค สทฺเท, ติ. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  34. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  35. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  36. ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
  37. ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
  38. โฆสปฺปมาณ, - ณิก : ค. ผู้ถือเสียงเป็นประมาณ, ผู้หนักในเสียง, ผู้ติดในเสียง
  39. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  40. โฆสา : (อิต.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงป่าวร้อง, ความกึกก้อง. ฆุสนํ โฆโส. ฆุสฺ สทฺเท, โณ.
  41. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  42. จปุจปุ : (วิ.) จับๆ (จั๊บๆ). เสียงที่เกิดจากการเคี้ยวอาหารโดยมิได้หุบปาก ทาง พุทธศาสนาถือว่าเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ สุ ภาพชนไม่ควรทำ.
  43. จปุจปุการก : อ. ทำเสียงดังจุ๊บๆ จั๊บๆ (ขณะกินหรือดื่ม)
  44. จิจฺจิฏายติ : ก. ประพฤติเสียงดังฉี่ๆ ฉ่าๆ (เหมือนเสียงก้อนเหล็กเผาไฟที่จุ่มลงในน้ำ), เดือดพล่าน
  45. จิจฺจิฏายน : นป. การทำเสียงดังฉี่ๆ ฉ่าๆ
  46. จิฏิ-จิฏิ : อ. เสียงดังจิฏิๆ
  47. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  48. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  49. ฉนฺทก : นป. การออกเสียงเลือกตั้ง; การรวบรวมทานเพื่อภิกษุสงฆ์
  50. ชนติ : ก. ทำเสียง, ออกเสียง, ร้อง
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-285

(0.0411 sec)