Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยะ , then , ยะ, ยา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ยะ, 1330 found, display 1-50
  1. ยะ : คําประกอบข้างหน้าคําที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียว กับคําเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย.
  2. ยะ : ว. คําออกเสียงลงท้ายวลีหรือประโยค ถือว่าไม่สุภาพ เช่น ของกินนะยะ ของถวายพระนะยะ จะรีบไปไหนยะ.
  3. ยะงันจะคับ : ว. พูดไม่ได้. (ช.).
  4. ยะวา : (โบ) น. ชวา.
  5. อันโยนย, อันโยนยะ : [โยนยะ] (โบ) ว. ''กันและกัน''. (ส. อนฺโยนฺย; ป. อ?ฺ?ม?ฺ?); ในไวยากรณ์ใช้เรียกสรรพนามพวกหนึ่ง ซึ่งแทนชื่อคน สัตว์ หรือสิ่งของที่รวมกัน ได้แก่คําว่า ''กัน'' เช่น คนตีกัน เรียกว่า อันโยนยสรรพนาม.
  6. ทวิตียะ, ทวิตียา : [ทะวิ-] (แบบ) ว. ที่ ๒. (ส.).
  7. ทัสนานุตริยะ : [ทัดสะนานุดตะริยะ] น. สิ่งที่เห็นอันประเสริฐ, การเห็นอัน ประเสริฐ เช่นการเห็นธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นต้น. (ป. ทสฺสนานุตฺตริย).
  8. ดนยะ, ดนัย : [ดะนะยะ, ดะไน] (แบบ) น. ลูกชาย. (ป., ส. ตนย).
  9. บุษย-, บุษย์, บุษยะ, ปุษยะ, ปุสสะ : [บุดสะยะ-, บุด, บุดสะยะ, ปุดสะยะ, ปุดสะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๘ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปปุยฝ้าย พวงดอกไม้ ดอกบัว หรือ โลง, ดาว ปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอ สําเภา หรือ ดาวสิธยะ ก็เรียก. (ส. ปุษฺย; ป. ปุสฺส); แก้วสีขาว; บัว.
  10. ปานีย-, ปานียะ : [ปานียะ-] ว. ควรดื่ม, น่าดื่ม, ดื่มได้. (ป., ส.).
  11. ปุษยะ, ปุสสะ, บุษย์, บุษยะ : [ปุดสะยะ, ปุดสะ, บุด, บุดสะยะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๘ มี ๕ ดวง เห็น เป็นรูปปุยฝ้าย พวงดอกไม้ ดอกบัว หรือโลง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสําเภา หรือ ดาวสิธยะ ก็เรียก. (ส. ปุษฺย; ป. ปุสฺส).
  12. ปูชนีย-, ปูชนียะ : [-ชะนียะ] ว. น่านับถือ, น่าบูชา, เช่น ปูชนียวัตถุ ปูชนียบุคคล. (ป.).
  13. มรรตยะ, มรรตัย, มัตตัย, มัตยะ : [มันตะยะ, มันไต, มัดไต, มัดตะยะ] น. ผู้ที่ต้องตาย, ได้แก่ พวกมนุษย์ และสัตว์ดิรัจฉาน, คู่กับ อมร ผู้ไม่ตาย คือ เทวดา. (ส. มรฺตฺย; ป. มจฺจ).
  14. มหัจฉริย-, มหัจฉริยะ : [มะหัดฉะริยะ-] ว. น่าอัศจรรย์มาก. (ป.; ส. มหาศฺจรฺย).
  15. เยภุย, เยภุยยะ : [เยพุยยะ] ว. มาก, ชุกชุม. (ป.).
  16. ศัสยะ : [สัดสะยะ] น. ข้าวกล้า. (ส.; ป. สสฺส).
  17. สัตตาหกรณียะ : [สัดตาหะกะระนียะ, สัดตาหะกอระนียะ] น. กิจที่ พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษา ได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก.
  18. ยา : น. สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบํารุงร่างกาย เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เช่น ยาผง ยาเม็ด ยานํ้า เรียกตามสีก็มี เช่น ยาแดง ยาเขียว ยาเหลือง ยาดํา เรียกตามรสหรือกลิ่นก็มี เช่น ยาขม ยาหอม เรียก ตามวิธีทําก็มี เช่น ยาต้ม ยากลั่น ยาดอง เรียกตามกิริยาที่ใช้ก็มี เช่น ยา กวาด ยากิน ยาฉีด ยาดม ยาอม; เรียกยาฝิ่นว่า ยา ก็มี เช่น โรงยา; สารเคมี สําหรับเคลือบเงินทองให้มีสีต่าง ๆ; (กฎ) วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วย ของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่ง สำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือ การกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์. ก. ทําให้หายโรค, รักษาให้หาย, ในคําว่า เยียวยา; ทําให้หายรั่ว เช่น ยาเรือ. ว. ใช้ประกอบคํา พี่ น้อง ลูก ว่า พี่ยา น้องยา ลูกยา, ใช้ในราชาศัพท์หมายความว่า เพศชาย เช่น พระเจ้าลูกยาเธอ.
  19. สักกะ ๒, สักยะ : น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์, ศากยะ ก็ว่า. (ป.; ส. ศากฺย). (ดู ศากย, ศากยะ).
  20. กรณีย-, กรณีย์, กรณียะ : [กะระ-, กอระ-] น. กิจ. ว. อันควรทํา, อันพึงทํา. (ป.).
  21. เขียะ : (ถิ่น-พายัพ) น. ต้นกระบองเพชร. (ดู กระบองเพชร๒).
  22. โภชนียะ : ดู โภชน–, โภชนะ.
  23. โภชนียะ : (แบบ) น. อาหารควรบริโภค. (ป., ส.).
  24. : พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรตํ่า เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดใน แม่เกย.
  25. เย็นยะเยือก : ว. อาการที่รู้สึกหนาวสะท้านถึงขั้วหัวใจ, เย็นเยือก หรือ เยือกเย็น ก็ว่า.
  26. ราชสูยะ : น. พิธีราชาภิเษกของอินเดียโบราณ. (ส.).
  27. วาจาไปยะ : (แบบ) น. คําอ่อนหวาน. (ป. วาจาเปยฺย, วาชเปยฺย).
  28. วาชเปยะ : [วาชะ] น. การดื่มเพื่อพลัง; ชื่อพิธีบูชาอย่างหนึ่งในอินเดีย โบราณที่จัดทำสำหรับบุคคลในวรรณะกษัตริย์และวรรณะ พราหมณ์. (ส.).
  29. เววัณณิยะ : ต่างกับเพศคฤหัสถ์. (ป.).
  30. เวฬุริยะ : น. แก้วไพฑูรย์. (ป.; ส. ไวฑูรฺย).
  31. โศจนียะ : [จะ] ว. อันน่าโศก, น่าเศร้าใจ. (ส.).
  32. สัชฌายะ : ก. สังวัธยาย. (ป.; ส. สฺวาธฺยาย).
  33. หนามเขียะ : (ถิ่น-พายัพ) น. ต้นกระบองเพชร. (ดู กระบองเพชร๒).
  34. หัมมียะ : [หํา-] น. เรือนแบบหนึ่ง. (ป.; ส. หรฺมฺย).
  35. อุทริยะ :
  36. ขัตติย- : [-ยะ-] น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ป.).
  37. ไปย- : [-ยะ-] น. เครื่องดื่ม. (ป. เปยฺย).
  38. วายสะ : [ยะ] น. กา. (ป., ส.).
  39. ไอยรา : [ยะ] (กลอน) น. ช้าง.
  40. ยชุรเวท : [ยะชุระ] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ ของพระเวท กล่าวถึงพิธีบูชาสำคัญหลายพิธี เช่น พิธีราชสูยะ พิธีอัศวเมธ รายละเอียดในการประกอบพิธีและเรื่องเล่า แต่งเป็นร้อยแก้ว ส่วนบทสวดเป็นฉันท์นำมาจากฤคเวท. (ส.). (ดู เวท, เวท ประกอบ).
  41. ยวกสา : [ยะวะกะสา] น. นํ้าประสานดีบุก.
  42. ยวาคุ : [ยะวา] น. ยาคู. (ส.).
  43. ยกนะ : [ยะกะนะ] น. ตับ. (ป.; ส. ยกนฺ, ยกฺฤต).
  44. ยถากรรม : [ยะถากํา] ว. ตามบุญตามกรรม, ตามแต่จะเป็นไป. (ส.; ป. ยถากมฺม).
  45. ยถาภูตญาณ : [ยะถาพูตะ] น. ความรู้ตามความเป็นจริง. (ป.; ส. ยถาภูต + ชฺ?าน).
  46. ยมก : [ยะมก] น. คู่, แฝด, ๒ ชั้น; เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ ๆ ว่า ไม้ยมก สําหรับ อ่านซํ้าความหรือซํ้าคําข้างหน้า ๒ หน. (ป., ส.).
  47. ยมล : [ยะมน] น. คู่. (ป., ส.).
  48. ยมะ ๑ : [ยะมะ] ก. สํารวม. (ป., ส.).
  49. ยมะ ๒ : [ยะมะ] น. คู่, แฝด. (ป., ส.).
  50. ยวะ, ยวา : [ยะวะ, ยะวา] น. ข้าว, ข้าวเหนียว. (ป., ส. ยว ว่า ข้าวบาร์เลย์ เมล็ดคล้าย ลูกเดือย).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1330

(0.1773 sec)