Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยินดียินร้าย, ยินร้าย, ยินดี , then ยนดยนราย, ยินดี, ยินดียินร้าย, ยินร้าย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ยินดียินร้าย, more than 7 found, display 1-7
  1. bask in : (PHRV) ; ยินดี ; Related:ได้รับความรู้, ชื่นชอบ
  2. triumphal : (ADJ) ; ยินดี
  3. aha : (INT) ; คำอุทานแสดงความพอใจ ยินดี
  4. delight in : (PHRV) ; ยินดีเรื่อง ; Related:ดีใจในเรื่อง ; Syn:glory in, rejoice at, rejoice in, rejoice over, take in
  5. delight with : (PHRV) ; ยินดีกับ ; Related:ดีใจกับ
  6. exult over : (PHRV) ; ยินดีในเรื่องความโชคร้ายหรือความพ่ายแพ้ของผู้อื่น ; Related:ดีใจไปกับ ; Syn:crow over
  7. rejoice in : (PHRV) ; ยินดีใน ; Related:ปลื้มปิติใน ; Syn:delight in, glory in
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ยินดียินร้าย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ยินดียินร้าย, more than 7 found, display 1-7
  1. ไม่ยินดียินร้าย : (V) ; appear indifferent ; Related:look unmoved, seem unconcerned ; Syn:เฉยชา ; Ant:ยินดียินร้าย ; Def:ไม่แสดงความรู้สึกอะไรออกมา ; Samp:ร้านรวงยังคงปิดประตูสนิทราวกับไม่ยินดียินร้ายที่จะค้าขายในวันนี้
  2. มีความยินดี : (V) ; be glad ; Related:be delighted, be pleased, be happy, rejoice ; Syn:ยินดี ; Samp:ข้าพเจ้ามีความยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่ง ที่ได้มาบรรยายในวันนี้
  3. แสดงความยินดี : (V) ; congratulate ; Related:felicitate ; Syn:ยินดี ; Ant:แสดงความเสียใจ ; Def:ร่วมดีใจเมื่อผู้อื่นได้รับสิ่งดีๆ หรือประสบความสำเร็จ ; Samp:ขอแสดงความยินดีกับบุคลากรของวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นที่สอบเรียนต่อระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้
  4. ขุ่นเคือง : (V) ; annoy ; Related:irritate, displease, resent ; Syn:ขุ่นข้อง, โกรธ, โกรธเคือง, ขัดเคือง, เคืองขัด, ขุ่นข้องหมองใจ, เคืองขุ่น ; Ant:ยินดี ; Def:โกรธกรุ่นๆ อยู่ในใจ ; Samp:เรามักจะขุ่นเคืองที่ได้ยินคนนินทาเขาลับหลัง
  5. เฉยชา : (ADJ) ; indifferent ; Related:cold, still, ignorant, unconcerned, detached ; Syn:เย็นชา, เฉยเมย, ไม่ยินดียินร้าย ; Def:ที่มีอาการนิ่งอยู่ ไม่ยินดียินร้ายต่อสิ่งรอบตัว ; Samp:สามีหล่อนมองหล่อนด้วยท่าทีเฉยชา
  6. ความชื่นชมยินดี : (N) ; delight ; Related:joyfulness, admiration, eulogy, esteem, pleasure ; Syn:ความชื่นชม, ความยินดี, ความปิติยินดี ; Ant:ความเกลียดชัง, ความชัง ; Samp:ลูกน้องแสดงความชื่นชมยินดีกับการเลื่อนตำแหน่งของหัวหน้า
  7. ความปิติยินดี : (N) ; delight ; Related:pleasure, rejoicing, blissfulness, cheerfulness ; Syn:ความรื่นรมย์, ความยินดี, ความปิติ, ความปลื้มปิติ ; Ant:ความสลดใจ, ความเศร้า, ความทุกข์โศก ; Samp:ความสำเร็จของผลงานได้สร้างความปิติยินดีให้แก่กลุ่มนักวิจัยเป็นอย่างยิ่ง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ยินดียินร้าย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ยินดียินร้าย, more than 5 found, display 1-5
  1. ยินดี : ก. ชอบใจ, ดีใจ.
  2. ยินร้าย : ก. ไม่พอใจ, ไม่ชอบใจ.
  3. พระอิฐพระปูน : (สํา) ว. นิ่งเฉย, วางเฉย ไม่เดือดร้อน, ไม่รู้สึกยินดี ยินร้าย.
  4. จระกล้าย : [จะระ-] (กลอน) ก. วางเฉย, อยู่เฉย, ไม่รู้สึกยินดียินร้าย, โบราณเขียนเป็น จรกล้าย ก็มี เช่น เออาศนไอสูรยเสีย จรกล้าย. (ยวนพ่าย), แล้วก็น่งงเยียม่งง ช่งงอยู่จรกล้าย ว่าเถ้าร้ายฤๅจะรู้กล. (ม. คำหลวง กุมาร).
  5. เฉย ๆ : ว. ใช้ประกอบข้อความหรือคําอื่น มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ ข้อความแวดล้อม เช่น หยิบไปเฉย ๆ คือ หยิบไปโดยไม่ได้บอกกล่าว, อยู่บ้านเฉย ๆ คือ อยู่บ้านโดยไม่ทําอะไรให้เป็นกิจจะลักษณะ หรือไม่ได้ ทํามาหากินอะไร; ไม่ยินดียินร้ายเช่น เขาเป็นคนเฉย ๆ, เท่านั้น เช่น ปลูกเรือนไว้เฉย ๆ ไม่ให้ใครอยู่.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ยินดียินร้าย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ยินดียินร้าย, more than 5 found, display 1-5
  1. ยินร้าย : ไม่พอใจ, ไม่ชอบใจ
  2. สติปัฏฐาน : ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี ๔ อย่างคือ ๑.กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย ๒.เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันเวทนา, ๓.จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการของจิต ๔.ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันธรรม; เรียกสั้น ๆ ว่า กาย เวทนา จิต ธรรม
  3. อินทรียสังวร : สำรวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ, ระวังไม่ให้กิเลสครอบงำใจในเวลารับรู้อารมณ์ทางอินทรีย์ทั้ง ๖ (ข้อ ๑ ในอปัณณกปฏิปทา ๓, ข้อ ๒ ในปาริสุทธิศีล ๔, ข้อ ๒ ในองค์แห่งภิกษุใหม่ ๕)
  4. อุเบกขา : 1) ความวางใจเป็นกลาง ไม่เอนเอียงด้วยชอบหรือชัง, ความวางใจเฉยได้ ไม่ยินดียินร้าย เมื่อใช้ปัญญาพิจารณาเห็นผลอันเกิดขึ้นโดยสมควรแก่เหตุ และรู้ว่าพึงปฏิบัติต่อไปตามธรรม หรือตามควรแก่เหตุนั้น, ความรู้จักวางใจเฉยดู เมื่อเห็นเขารับผิดชอบตนเองได้ หรือในเมื่อเขาควรต้องได้รับผลอันสมควรแก่ความรับผิดชอบของเขาเอง, ความวางทีเฉยคอยดูอยู่ในเมื่อคนนั้นๆ สิ่งนั้นๆ ดำรงอยู่หรือดำเนินไปตามควรของเขาตามควรของมัน ไม่เข้าข้างไม่ตกเป็นฝักฝ่าย ไม่สอดแส่ ไม่จู้จี้สาระแน ไม่ก้าวก่ายแทรกแซง(ข้อ ๔ ในพรหมวิหาร ๔, ข้อ ๗ ในโพชฌงค์ ๗, ข้อ ๑๐ ในบารมี ๑๐, ข้อ ๙ ในวิปัสสนูปกิเลส ๑๐) 2) ความรู้สึกเฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ เรียกเต็มว่าอุเบกขาเวทนา (= อทุกขมสุข)
  5. โมทนา : บันเทิงใจ, ยินดี; มักใช้พูดเป็นคำสั้น สำหรับคำว่าอนุโมทนา หมายความว่าพลอยยินดี หรือชื่นชมเห็นชอบในการกระทำนั้นๆ ด้วยเป็นต้น ดู อนุโมทนา
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ยินดียินร้าย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยินดียินร้าย, more than 5 found, display 1-5
  1. กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
  2. คิทฺธ : (วิ.) กำหนัด, ยินดี, รัก,รักใคร่, ชอบใจ, โลภ. คิธฺ อภิกํขายํ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ ถ้าตั้ง คิทฺธฺ อภิกํขายํ. ลง อ ปัจ.
  3. เคธ : (วิ.) กำหนัด, อยาก, ปราถนา, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, ติดใจ, รัก, รักใคร่. คิธฺ อภิกํขายํ, โณ.
  4. ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
  5. ตปฺปติ : ก. เผา, ไหม้, ส่องแสง, เดือดร้อน, ถูกทรมาน; อิ่มใจ, ยินดี
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ยินดียินร้าย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ยินดียินร้าย, 7 found, display 1-7
  1. ยินดี : ตุสฺสติ, สนฺตุสฺสติ, รโต, รติ, รุจิ [อิ.]
  2. ยินดี, รู้จักพอ : มตฺตญฺญุตาสงฺขาโต สนฺโตโส
  3. กำหนัด, ยินดี : อนุคิชฺฌติ [ก.]
  4. ยินดีต่อบารมีธรรม : ปารมิธมฺมํ ปโมทาม
  5. ยินดีในการจำแนกทาน : ทานสํวิภาครโต
  6. ความยินดี : ปีติ, นนฺทิ, อานนฺโท, หาโส, ปโมโท
  7. ความยินดี, รู้จักพอ : มตฺตญฺญุตาสงฺขาโต, สนฺโตโส

(0.2055 sec)