Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าข้าง, เข้า, ข้าง , then ขา, ขาง, ข้าง, เข้, เข้า, เข้าข้าง .

Eng-Thai Lexitron Dict : เข้าข้าง, more than 7 found, display 1-7
  1. side with : (PHRV) ; เข้าข้าง ; Related:สนับสนุน ; Syn:take with
  2. stand with : (PHRV) ; เข้าข้าง ; Related:อยู่ฝ่าย, เป็นพวกของ
  3. be on 2 : (PHRV) ; (พนัน) เข้าข้าง ; Related:เดิมพันเข้าข้างหรือฝ่าย ; Syn:bet on
  4. be upon 2 : (PHRV) ; (พนัน) เข้าข้าง ; Related:เดิมพันเข้าข้างหรือฝ่าย ; Syn:bet on
  5. go across to : (PHRV) ; เปลี่ยน (ฝ่าย, ข้าง, ความคิด) ไปเข้าข้าง ; Syn:go over to
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : เข้าข้าง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เข้าข้าง, more than 7 found, display 1-7
  1. เข้าข้าง : (V) ; take side with ; Related:sympathize with ; Syn:สนับสนุน, เป็นพวก ; Def:เข้าเป็นพวกเดียวกัน, สนับสนุนหรือเห็นดีเห็นงามด้วย ; Samp:กรรมการต้องเข้าข้างพวกชาติเดียวกันอยู่แล้ว
  2. ข้าง : (N) ; side ; Related:part ; Def:ส่วนของร่างกายด้านข้าง ; Samp:เขาหันข้างให้คู่สนทนา โดยไม่ยอมรับฟังเรื่องต่างๆ ; Unit:ข้าง
  3. ข้าง : (N) ; side ; Related:group, faction ; Syn:ฝ่าย, ด้าน, พวก ; Def:ฝั่งหรือฝ่ายที่อยู่ ; Samp:เรื่องนี้เธอจะอยู่ข้างใคร บอกมาให้ชัดเลย ; Unit:ข้าง, ฝ่าย
  4. ข้าง : (N) ; side ; Related:part, group ; Syn:ฝ่าย, ด้าน, พวก ; Def:ฝั่งหรือฝ่ายที่อยู่ ; Samp:เรื่องนี้เธอจะอยู่ข้างใคร บอกมาให้ชัดเลย ; Unit:ข้าง, ฝ่าย
  5. เข้า : (V) ; get along with ; Related:deal with ; Syn:เข้ากัน ; Ant:แยก, แตกแยก ; Def:ถูกกันหรือลงรอยกันได้ดี ; Samp:เด็กๆ เข้ากับเพื่อนใหม่ได้ดี
  6. เข้า : (V) ; put in ; Related:pour in ; Ant:ออก ; Def:ใส่เข้าไว้, บรรจุเข้าไว้ ; Samp:หลังจากขายสินค้าชิ้นแรกได้ แม่ค้ารีบเก็บเงินเข้ากระเป๋าอย่างรวดเร็ว
  7. เข้า : (V) ; enter ; Related:get into, go into ; Syn:เข้าไป ; Def:อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทำให้เคลื่อนไปข้างใน ; Samp:เด็กๆ รีบเข้าไปในบ้านก่อน อย่าให้โดนฝน เดี๋ยวไม่สบาย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เข้าข้าง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เข้าข้าง, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้าข้าง : ก. เข้าเป็นฝ่าย.
  2. ข้าง : น. เบื้อง เช่น ข้างหน้า ข้างหลัง; ส่วน เช่น ข้างหัว ข้างท้าย; ฝ่าย เช่น ข้างไหน ข้างนี้; สีข้าง เช่น เอาข้างเข้าถู. บ. ใกล้, ริม, เช่น ต้นฝรั่งข้างรั้ว.
  3. ฝักฝ่าย : น. พวก, ข้าง. ก. เข้าพวก, เข้าข้าง.
  4. เข้า : ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทําให้เคลื่อนไปข้างใน เช่น เข้าบ้าน เข้าถํ้า เอาหนังสือเข้าตู้; เคลื่อนมาสู่ที่, มาถึง, เช่น รถด่วนเข้า ๑๐ โมง; ใส่, บรรจุ, เช่น เข้าหีบ; ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ; รวม เช่น เข้าหุ้น เข้าทุน; รวม เป็นพวก เช่น เข้าพรรค เข้าแถว เข้าข้าง; ถูกกัน, ลงรอยกัน, ทําให้ลงรอยกัน, เหมาะเจาะ, เช่น เสียงเข้ากัน สีเข้ากัน เข้าไม้; เคลื่อนมาสู่ เช่น พระศุกร์เข้า; สิง เช่น เจ้าเข้า ผีเข้า; เริ่ม เช่น เข้าเรียน, เริ่มทํางาน เช่น โรงเรียนเข้า; เริ่มอยู่ ในภาวะ เช่น เข้าโรงเรียน เข้าทํางาน. ว. ตรงข้ามกับ ออก เช่น ทางเข้า ขาเข้า; ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความหมายเร่งรัดหรือเน้นความว่า มากขึ้น เช่น เร็วเข้า คิดเข้า หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า.
  5. ถือท้าย : ก. ทําหน้าที่บังคับเรือให้แล่นไปตามทิศทาง; โดยปริยาย หมายความว่า เข้าข้าง เช่น ถือท้ายเด็ก; ควบคุม เช่น ถือท้ายรัฐนาวา.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เข้าข้าง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เข้าข้าง, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้ารีต : เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น (มักใช้แก่ศาสนาคริสต์), ทำพิธีเข้าถือศาสนาอื่น
  2. เข้าที่ : นั่งภาวนากรรมฐาน
  3. ปฐมาปัตติกะ : ให้ต้องอาบัติแต่แรกทำ หมายถึง อาบัติสังฆาทิเสส ๙ สิกขาบท ข้างต้นซึ่งภิกษุล่วงเข้าแล้ว ต้องอาบัติทันที สงฆ์ไม่ต้องสวดสมนุภาสน์ คู่กับ ยาวตติยกะ
  4. ผลเหตุสนธิ : ต่อผลเข้ากับเหตุ หมายถึง เงื่อนต่อระหว่างผลในปัจจุบัน กับเหตุในปัจจุบัน ในวงจรปฏิจจสมุปบาท คือ ระหว่างวิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ข้างหนึ่ง (ฝ่ายผล) กับ ตัณหา อุปาทาน ภพ อีกข้างหนึ่ง (ฝ่ายเหตุ)
  5. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เข้าข้าง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าข้าง, more than 5 found, display 1-5
  1. วิปกฺขเสวก : ค. ผู้เข้าข้างศัตรู
  2. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  3. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  4. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  5. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าข้าง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เข้าข้าง, more than 5 found, display 1-5
  1. ข้างขึ้น : ชุนฺหปกฺโข, สุกฺกปกฺข
  2. ข้างแรม : กาฬปกฺโข
  3. เข้าสู่ครรภ์ : คพฺภุปาคมิ
  4. การเข้าร่วม : สโมธานํ
  5. ก้าวไปข้างหน้า : อนุกฺกมติ [ก.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เข้าข้าง, more results...

(0.4422 sec)