Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยะ , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยะ, 1057 found, display 101-150
  1. นิยฺยาเทติ : ก. ดู นิยฺยาเตติ
  2. นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
  3. นิลย : (ปุ.) เรือน, รัง, ที่อยู่. นิปุพฺโพ. ลิ สิเลสเน, โณ. ส. นิลย.
  4. นียาเทติ : ก. ดู นิยฺยาเทติ
  5. นียานิก : ค. ดู นิยฺยานิก
  6. ปเมยฺย : (วิ.) นับได้, ประมาณได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  7. ปาฏิกุลฺย : นป., ปาฏิกฺกุลฺยตา อิต. ความปฏิกูล, ความสกปรกน่าเกลียด
  8. ปูชนีย ปูชเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรซึ่งอันบูชา, ฯลฯ, ควรบูชา, ควรนับถือ, น่าบูชา, น่านับถือ. วิ. ปูชนํ อรหตีติ ปูชนีโย ปูชเนยฺโย วา. อีย, เอยฺย ปัจ.
  9. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  10. ภาคิเนยฺย : (ปุ.) หลาน, หลานชาย (ลูกของพี่สาว ลูกของน้องสาว), ภาคิไนย. วิ. ภคินิยา อปจฺจํ ภาคิเนยฺโย. เณยฺย ปัจ.
  11. มตฺเตยฺย : (วิ.) เกื้อกูลแก่มารดา วิ. มาตุ หิโต มตฺเตยฺโย. เอยฺย ปัจ. โมคฯ ลง เรยฺยณฺ ปัจ.
  12. เมยฺย : (วิ.) อัน...พึงนับ, อัน...ได้นับแล้ว, อัน...ย่อมนับ, อัน...จักนับ. มา มาเน, ณฺย ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา ที่สุดธาตุเป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
  13. ยชุ, ยชุรเพท : นป. ยชุรเวท
  14. ยาจก ยาจนก : (ปุ.) คนขอทาน วิ. ยาจตีติ ยาจโก. ณฺวุปัจ. ยาจนํ กโรตีติ ยาจนโก. กฺวิปัจ. ลบที่ธาตุ หรือ ยาจฺ ธาตุ ยุ ปัจ. ก สกัด อภิฯ.
  15. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  16. สีหเสยฺยา : (อิต.) การนอนราวกะว่าสีหะ, สีหเสยยา สีหไสยา คือ การนอนตะแคงขวา.
  17. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  18. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  19. อกฺขฺยา : (อิต.) ชื่อ, นาม.อาปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, อ, อิตฺถิยํ อา, รสฺโส, กฺสํโยโค.
  20. อคท : (ปุ. นปุ.) สิ่งที่เป็นปฏิปักษ์แก่โรค, ยา, ยาประเสริฐ. วิ. โค วุจฺจติ ทุกฺขํ, ตํเทติ คโท, โรโค; น วิชฺชเต คโท ยสฺมึ โสอคโท. ส. อคท.
  21. อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺยรูป ฯ ๓๙๕.โมค ฯสมาสกัณฑ์๑๐๕แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  22. อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย รูป ฯ ๓๙๕. โมค ฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๕ แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  23. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  24. อปสพฺย อปสวฺย : (วิ.) ขวา, เบื้องขวา. ส. อปสพฺย.
  25. อพฺยาเสกอวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิดจิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอพฺยาเสกํ.นวิอาสิจฺธาตุอภิฯลงอปัจ.ฏีกาอภิฯลงณปัจ.
  26. อพฺยาเสก อวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและ นัยน์ตาให้เกิด จิตฺตสฺส อกฺขิโน จ ปิติชนกํ วตฺถุ อพฺยาเสกํ. น วิ อา สิจฺธาตุ อภิฯ ลง อ ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง ณ ปัจ.
  27. อภยา : (อิต.) สมอ, ต้นสมอ.วิ.นวิชฺชเตโรคภยํโรคฏฺฐาเนปยุชฺชมานายมสฺสมิติอภยา.
  28. อภิกฺขฺยาอภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี.อภิปุพฺโพ, ขฺยาปกาสเน, กฺวิ.
  29. อภิกฺขฺยา อภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี. อภิปุพฺโพ, ขฺยา ปกาสเน, กฺวิ.
  30. อภิวฺยาเปติ : ก. ดู อภิพฺยาเปติ
  31. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  32. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  33. อากฺขฺยาอาขฺยา : (อิต.) นาม, ชื่อ. วิ.อาขฺยายเตเอตายาติอากฺขฺยาอาขฺยาวา.อาปุพฺโพ, ขฺยา ปกถเน, อ.อภิฯลงกฺวิ ปัจ.ศัพท์ต้นซ้อนกฺ.
  34. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  35. อามย : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย, โรค.วิ.อามยติรุชฺชตีติอามโย.อาปุพฺโพ, มยฺคติมฺหิ, อ. อาภุโส มิโนติอตฺตสมงฺคีนนฺติวาอามโย.อาปุพฺโพ, มิหึสายํ, โณ.อมฺวาโรเค, โย, ทีโฆ.ส. อามย.
  36. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  37. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  38. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  39. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  40. กณฺฑูยา : อิต. การเกา, การข่วน
  41. กตฺตริ กตฺตริย : (นปุ.) กรรไกร, ฯลฯ.
  42. กมฺพลีย : นป. ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง
  43. กยวิกฺย : ป. พ่อค้า
  44. กยวิกย กยวิกฺกย : (ปุ.) การซื้อและการขาย, การซื้อขาย, การเปลี่ยน, การแลกเปลี่ยน.
  45. กรชกาย กรชฺชกาย : (ปุ.) กายอันเกิดแต่ธุลี ในน้ำ, กายอันเกิดแต่ความรักของพรหม คือมารดาและบิดา วิ. กรชา ชาโต กาโย กรชกาโย. กายอันเกิดจากกระคือน้ำ สัมภวะของมารดาและบิดา วิ. กรโช กาโย กรชกาโย. ศัพท์หลังซ้อน ชฺ. กรญฺช
  46. กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
  47. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  48. กายปาคพฺภินิย : นป. ความคะนองกาย, ความไม่สุภาพ
  49. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  50. กายานุปสฺสนา : (อิต.) การพิจารณาเนือง ๆ ในกาย, การพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกาย, การกำหนดพิจารณากาย.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0820 sec)