Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยะ , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยะ, 1057 found, display 751-800
  1. ตุงฺคหาร : (ปุ.) แกแล ชื่อไม้เถาชนิดเขื่อง มี แก่นเหลือง ใช้ย้อมผ้าและทำยาไทย.
  2. ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  3. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  5. ทกฺขิเณยฺย : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันรับซึ่งทักษิณา วิ. ทกฺขิณํ ปฏิคฺคหิตุ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย. ผู้ควรซึ่งทักษิณา วิ. ทกฺขิณํ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย. ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ วา ทกฺขิเณยฺโย. เณยฺยปัจ. บาลีไวยากรณ์ ลง เอยฺย ปัจ.
  6. ทมยันฺตี : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. ชายา ศัพท์ อนฺต สกัด ยฺ อาคม อี อิต. แปลงชายาเป็น ทํ แปลงนิคคหิต เป็น ม.
  7. ทฺวิกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้ง, สิ้นสองคราว, สิ้นสองหน. ทฺวิ+ กฺขตฺตํปัจ. ลงในวาระศัพท์ รูปฯ ๔๐๓ . สองคราว, สองครั้ง. สองหน. สัมพันธ์เป็นกริยาวิเสสนะ.
  8. ทฺวิติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้งและ สิ้นสามครั้ง, สิ้นสองคราวและสิ้นสามคราว, สิ้นสองหนและสิ้นสามหน. วิ. ทวิกฺขตฺตุญฺจติกฺขตฺตุญฺจ ทฺวิติกฺขตฺตุ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสองครั้งและสามครั้ง, ฯลฯ.
  9. ทสกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสิบครั้ง, สิ้นสิบ คราว, สิ้นสิบหน. ทส+กฺขตฺตํ ปัจ. ลงในวารศัพท์. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสิบครั้ง, ฯลฯ.
  10. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  11. ทาฐา : (อิต.) เขี้ยว, งาช้าง. วิ. ทํสติ เอตายาติ ทาฐา. ทํสฺ ทํสเน, โฐ, ทํสสฺส ทา (แปลง ทํสฺ เป็น ทา). ส. ทาฒา.
  12. ทานว : (ปุ.) ทานพ ชื่ออสูรชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ วิ. ทานุมาย มาตุยา อปจฺจํ ทานวา. ส. ทานว.
  13. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  14. ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
  15. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  16. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  17. ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
  18. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  19. ทิพฺโพสธ : นป. ทิพยโอสถ, ยาทิพย์, ยาวิเศษ
  20. ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
  21. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  22. ทุกฺกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยยาก วิ . ทุกฺเขน กรียตีติ ทุกฺกรํ. อัน...พึงทำได้โดยยาก วิ. ทุกฺเขน กริตพฺพนติ ทุกฺกรํ. ทุกฺขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ข ปจฺจโย. ลบ ข ซ้อน กฺ.
  23. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  24. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  25. ทุปฺปูร : (วิ.) อัน...ให้เต็มได้ดดยยากล ให้เต็มได้ยาก.
  26. ทุผสฺส : (ปุ.) ผัสสะหยาบ, อเนกคุณคัน อเนกคุณ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทำยาไทย มีขนและหนามเล็กตามกิ่งก้านและใบ ถูกเข้าจะคัน.
  27. ทุพฺพจ : (วิ.) อัน...ว่าได้โดยยาก, ว่ายาก, สอนยาก. วิ. ทุกเขน วจียเตติ ทุพพโจ.
  28. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  29. ทุสฺสจาลนี : อิต. ผ้ากรองยา
  30. เทฑฺฑุภ : (ปุ.) งูน้ำ วิ. เทฑฺเฑน ราชิยา อุภตีติ เทฑฺฑโภ, เทฑฺฑปุพฺโพ, อุภฺ ปปูรเณ, อ. ฎีกาอภิฯ เป็น เทฑฺฑุ.
  31. เทยฺย : (วิ.) อัน...พึงให้, อัน...ควรให้, พึงให้, ควรให้. วิ. ทาตพฺพนติ เทยฺยํ. อัน...ได้ให้ แล้ว. อัน...ย่อมให้, อัน...จักให้ง วิ. อทียิตฺถ ทียติ ทิยิสฺสตี วาติ เทยฺยํ. ทา ทาเน, ณฺย. แปลง ณฺย กับ อา ที ทา เป็น เอยฺย. รูปฯ ๕๔๐.
  32. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  33. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  34. เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
  35. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  36. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  37. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  38. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  39. ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
  40. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  41. ธมฺโมสถ : นป. ธรรมอุโบสถ, ยาคือธรรม
  42. ธวตฺถินี : (อิต.) หญิงผู้ต้องการผัว, หญิงผู้ปรารถนาผัว. วิ. ธวํ อตฺถยตีติ ธวตฺถินี. ธวปุพฺโพ, อตฺถฺ ยาจนิจฉาสุ, อินี.
  43. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  44. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  45. ธุวยาคุ : อิต. ธุวยาคู, ข้าวต้มหรือยาคูที่ให้เป็นประจำ
  46. นตฺถุ : (อิต.) จมูก. นาสฺ สทฺเท, ถุ, รสฺโส, สสฺส โต. ไทย ยานัตถุ์ ก็คือยาที่เป่าเข้า ไปในจมูก.
  47. นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
  48. นโม : (อัพ. นิบาต) ไหว้. ลงในอรรถ ปฐมา ทุติยาวิภัติ รูปฯ และอภิฯ.
  49. นรท : นป. โกศชฎามังสี, ยาขี้ผึ้ง
  50. นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0862 sec)