Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยะ , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยะ, 1057 found, display 701-750
  1. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  2. จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
  3. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  4. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  5. จมฺมการ : (ปุ.) ช่างฟอกหนัง, คนทำหนัง, ช่างหนัง, ช่างเย็บรองเท้า. วิ. จมฺมํ กโรติ วิการํ อาปาทยตีติ จมฺมกาโร. ณ ปัจ.
  6. จมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยหนัง, หุ้มด้วยหนัง, สรวมเกราะ, ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  7. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  8. จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
  9. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  10. จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
  11. จิตฺรตณฺฑุลา : (อิต.) พิลังกาสา ชื่อพรรณไม้ ชนิดหนึ่ง ผลกลมเล็กๆ ใช้ทำยาไทย วิ. จิตฺรานิ ตณฺฑุลานิ ยสฺสา สา จิตฺรตณฺฑุลา
  12. จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
  13. จุณฺณจาลนี, จุณฺณกจาลนี : อิต. เครื่องกรองยาผง, ตะแกรงร่อนยาผง
  14. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  15. เจตสิก : (วิ.) อันเป็นไปในจิต วิ. เจตสิ สํวตฺตตีติ เจตสิโก. อันประกอบในจิต วิ. เจตสิ นิยุตฺโต เจตสิโก. อันมีในจิต วิ. เจตสิ ภวํ เจตสิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  16. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  17. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  18. ชฎา : (อิต.) ความอยาก, ความปรารถนา, กิเลส, ตัณหา. วิ. เตสุ อารมฺมเณสุ อากุ- ลีภูตตฺตา ชฎา วิยาติ ชฏา.
  19. ชปฺปา : (อิต.) ความปรารถนา, ความเหนี่ยรั้ง.
  20. ชมฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชมฺพวํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. พฤทธิ์ อู เป็น อว โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๙.
  21. ชมฺพุทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
  22. ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
  23. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  24. ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
  25. ชามฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชามฺพวํ. ณ ปัจ.
  26. ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
  27. ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
  28. ชิญฺชุก : (ปุ.) มะกล่ำ, มะกล่ำเครือ มะกล่ำ ตาหนู ก็เรียก, กระพังโหม ชื่อไม้เถามี กลิ่นเหม็น ใบเรียวเล็ก ใช้ทำยา. ชญฺชฺ ยุทฺเธ, อุโล, อสฺสิ.
  29. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  30. ชีวนี ชีวนฺตี : (อิต.) เทียนเยาวพาณี วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชีวนี ชีวนฺตี วา. ชีวฺ+ยุ, อนฺต ปัจ. อี อิต.
  31. ฌชฺฌรี : (อิต.) มะรุม ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักยาว ใช้แกงส้ม, ผักไห่ ชื่อ ผักชนิดหนึ่งใช้ทำ ยา, ผักปลัง มีสองชนิด เถามีสีครั่งอ่อน อย่าง ๑ เถาสีเขียวอ่อนอย่าง ๑, ผักทอด ยอด (ผักบุ้ง), ฌชฺฌฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อโร, อิตฺถิยํ อี.
  32. ฌาฏล : (ปุ.) ไม้มวกใหญ่, ไม้มวกมี ๒ ชนิด คือ มวกเล็กและมวกใหญ่ ใช้ทำยาทั้งสอง อย่าง, ไม่สะคร้อ ตะคร้อก็เรียก, โตนด (ตาล ต้นตาล). ฌฏฺ สํฆาเต, อโล ทีฆะ ต้นธาตุ.
  33. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  34. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  35. ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
  36. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  37. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  38. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  39. ตนฺต : (วิ.) สูงสุด (มุขฺย). ตนุ วิตฺถาเร, โต.
  40. ตนุกต : (วิ.) ถาก, ทำให้บาง, วิ. ตนุ กรียเตติ ตนุกโต.
  41. ตนุชา : อิต. ดู ตนยา
  42. ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
  43. ตาลาว : (ปุ.) ต้นโคคลาน ชื่อต้นไม้ใช้ทำยา ในจำพวกคูน.
  44. ตาลิส, - สก : นป. ต้นเฉียง ; ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้ (ได้ผงและน้ำมันมาจากต้นไม้ชนิดนี้)
  45. ติตฺตก : (ปุ.) กระดอม, เทพชาลี, ขี้กา. ทั้ง ๓ ชนิดนี้เป็นไม้เลื้อย ผลมีรสขม ใช้ทำยา ไทย. ติตฺตรสตาย ติตฺตโก. ก สกัด.
  46. ติปุฏา : (อิต.) จิงจ้อ ชื่อไม้เถาในสกุลผักทอด ยอดมีหลายชนิด ใช้ทำยาไทย. วิ. ติสฺโส ปุฏา ตจราชิโย อสฺสาติ ติปุฏา.
  47. ติยงฺส : (ปุ.) ส่วนสาม, สามเหลี่ยม. ติ+ อํส ยฺ อาคม.
  48. ติโรกรณี : (อิต.) ผ้าม่าน วิ. ติโร กรียติ ปถียติ ยาย สา ติโรกรณี. เวสฯ ๕๐๖ วิ. ติโร กโรนฺติ เอตายาติ ติโรกรณี.
  49. ติโลก : (ปุ.) โลกสาม, ไตรดลก. ส. ตฺรโลกฺย.
  50. ติวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสาม, สามองคุลี.วิ. ติสฺโส องคุลิโย ติวงฺคุลํ. วฺ อาคม. องฺคุลิยา ภาโว องฺคุลํ. แปลง องฺคุลี เป็น องฺคุล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0654 sec)