Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ย้าย , then ยาย, ย้าย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ย้าย, more than 7 found, display 1-7
  1. travel : (VI) ; ย้าย ; Related:ย้ายที่อยู่
  2. transfer : (VI) ; ย้าย ; Related:เปลี่ยนตำแหน่ง, โยกย้ายตำแหน่ง(หน้าที่การงาน), โอนตำแหน่ง
  3. transplant : (VT) ; ย้าย
  4. clear up : (PHRV) ; ย้ายออกไป ; Related:ย้าย ; Syn:clean up
  5. bring over : (PHRV) ; ย้าย(บางสิ่ง)ไปอีกด้านของเรือ (การแล่นเรือ)
  6. emigrate to : (PHRV) ; ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่ ; Related:ย้ายไปยัง
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ย้าย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ย้าย, more than 7 found, display 1-7
  1. ย้าย : (V) ; move ; Related:change, shift, switch, transfer ; Syn:โยกย้าย, เคลื่อนย้าย, เปลี่ยนที่ ; Def:เปลี่ยนหรือสลับที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ; Samp:ฉันขอย้ายโต๊ะทำงานไปติดกับหน้าต่าง จะได้มองเห็นบรรยากาศข้างนอกบ้าง
  2. ย้าย : (V) ; sway ; Related:rock, roll, swing, bend ; Syn:ยักย้าย, โยก, ส่าย, ขยับ ; Def:เรียกอาการที่ร่างกายบางส่วนเช่น พุง เอว เคลื่อนไหวไปมาข้างโน้นทีข้างนี้ทีตามจังหวะ ; Samp:นางระบำย้ายสะโพกซ้ายขวาไปตามจังหวะเพลงละติน
  3. ย้ายถิ่น : (V) ; migrate ; Related:emigrate, move ; Syn:ย้ายที่อยู่, ย้ายถิ่นที่อยู่ ; Def:เปลี่ยนที่อยู่ ; Samp:ผู้คนนับหมื่นๆ พากันย้ายถิ่นมาอยู่ในเมืองหลวง เพื่อแสวงหาวิถีทางใหม่ในการทำมาหากิน
  4. ขนย้าย : (V) ; move ; Related:relocate, transport ; Syn:ขน, ย้าย, ยักย้าย ; Def:เอาสิ่งของจำนวนมากจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ; Samp:เจ้าของบ้านยื่นคำขาดให้หล่อนขนย้ายของออกภายใน 1 สัปดาห์ หากไม่มีเงินจ่ายค่าเช่าบ้าน
  5. เคลื่อนย้าย : (V) ; dislocate ; Related:displace, move, relocate ; Syn:ย้ายที่, โยกย้าย, เปลี่ยนที่ ; Ant:อยู่กับที่ ; Def:เปลี่ยนตำแหน่งที่ตั้ง, ออกจากตำแหน่งเดิม ; Samp:อย่าเคลื่อนย้ายสิ่งใดๆภายในห้องนี้เด็ดขาด
  6. โอนย้าย : (V) ; transfer ; Related:move ; Syn:โยกย้าย ; Def:ย้ายสังกัด ; Samp:ท่านผู้นี้เดิมเป็นทหารฝ่ายเสนาธิการแต่ได้โอนย้ายมารับราชการเป็นตำรวจด้วยความสมัครใจ
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : ย้าย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ย้าย, more than 5 found, display 1-5
  1. ย้าย : ก. เปลี่ยนที่ เช่น ย้ายเก้าอี้ไปไว้มุมห้อง. ว. อาการที่ร่างกายบางส่วนเช่น พุง เอว เคลื่อนไหวไปมาข้างโน้นทีข้างนี้ทีตามจังหวะขณะเดินเป็นต้น (มักใช้แก่คนอ้วน) เช่น เดินย้ายพุง เดินย้ายเอว.
  2. แยกย้าย : ก. แยกกันไปคนละทาง เช่น พองานเลิกต่างก็แยกย้ายกัน กลับบ้าน, แยกและย้ายไปอยู่คนละแห่ง เช่น เมื่อพ่อแม่ตายลูก ๆ ก็ แยกย้ายไปหาที่อยู่ใหม่.
  3. โยกย้าย : ก. ย้ายตำแหน่ง เช่น โยกย้ายข้าราชการ, ขยับขยายไปอยู่ที่อื่น เช่น โยกย้ายไปอยู่ต่างเมือง.
  4. ยาย : น. แม่ของแม่, เมียของตา, หญิงที่เป็นญาติชั้นเดียวกับแม่ของแม่หรือ ที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับยาย, (ปาก) คําเรียกหญิงสูงอายุอย่างไม่ค่อย เคารพนับถือ เช่น ยายป้า ยายแก่ ยายคุณหญิง หรือเรียกหญิงรุ่นราว คราวเดียวกันอย่างเป็นกันเอง เช่น ยายปุก ยายกุ้ง หรือเรียกเด็กหญิงที่ ตนเอ็นดูรักใคร่ เช่น ยายหนู.
  5. เปลี่ยน : [เปฺลี่ยน] ก. แปรหรือกลายไปจากลักษณะหรือภาวะเดิม, เอาสิ่งหนึ่ง เข้าแทนอีกสิ่งหนึ่งโดยกรรมวิธีต่าง ๆ เช่น แลกเปลี่ยน ผลัดเปลี่ยน สับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง, ย้าย เช่น เปลี่ยนที่อยู่ เปลี่ยนพรรค เปลี่ยน คลื่นวิทยุ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ย้าย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ย้าย, 7 found, display 1-7
  1. มคธ : 1.ชื่อแคว้นหนึ่งในบรรดา ๑๖ แคว้นใหญ่แห่งชมพูทวีปครั้งพุทธกาล ตั้งอยู่ฝั่งใต้ของแม่น้ำคงคาตอนกลาง เป็นแคว้นที่มีอำนาจมากแข่งกับแคว้นโกศล และเป็นที่พระพุทธเจ้าทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนา ในสมัยพุทธกาล มคธมีนครหลวงชื่อ ราชคฤห์ ราชาผู้ปกครองพระนามว่าพิมพิสาร ตอนปลายพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ถูกโอรสชื่ออชาตศัตรูปลงพระชนม์และขึ้นครองราชย์สืบแทน ต่อมาในสมัยพระเจ้ากาลาโศก หรือก่อนนั้น เมืองหลวงของมคธ ย้ายไปตั้งที่เมืองปาฏลีบุตร บนฝั่งแม่น้ำคงคา เหนือเมืองราชคฤห์ขึ้นไป มคธรุ่งเรืองถึงที่สุดในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งแคว้นใหญ่อื่นทั้งหมดได้รวมเข้าอยู่ภายในมหาอาณาจักรของพระองค์ทั้งหมดแล้ว บัดนี้ บริเวณที่เคยเป็นแคว้นมคธในสมัยพุทธกาล เรียกว่า แคว้นพิหาร 2.เรียกภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ หรือภาษาของชาวแคว้นมคธว่า ภาษามคธ และถือกันว่า ภาษาบาลีที่ใช้รักษาพระพุทธพจน์สืบมา จนบัดนี้ คือ ภาษามคธ
  2. วิสาขา : ชื่อมหาอุบาสิกาสำคัญในครั้งพุทธกาล เป็นธิดาของธนัญชัยเศรษฐี และนางสุมนา เกิดที่เมืองภัททิยะในแคว้นอังคะ ได้บรรลุโสดาปัตติผล ตั้งแต่อายุ ๗ ขวบ ต่อมาได้ย้ายตามบิดามาอยู่ที่เมืองสาเกตในแคว้นโกศลแล้วได้สมรสกับนายปุณณวัฒน์บุตรชายมิคารเศรษฐีแห่งเมืองสาวัตถี และย้ายไปอยู่ในตระกูลฝ่ายสามี นางสามารถกลับใจมิคารเศรษฐี บิดาของสามี ซึ่งนับถือครนถ์ ให้หันมานับถือพระพุทธศาสนา มิคารเศรษฐีนับถือนางมาก และเรียกนางวิสาขาเป็นแม่ นางวิสาขาจึงได้ชื่อใหม่อีกอย่างหนึ่งว่า มิคารมารดา (มารดาของมิคารเศรษฐี) นางวิสาขาได้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสงฆ์อย่างมากมาย และได้ให้ขายเครื่องประดับประจำตัวตั้งแต่แต่งงาน เรียกชื่อว่า มหาลดาปสาธน์ ซึ่งมีค่าสูงยิ่ง นำเงินมาสร้างวัดถวายแด่พระพุทธเจ้าและภิกษุสงฆ์คือ มิคารมาตุปราสาท วัดบุพพาราม ณ พระนครสาวัตถี นางวิสาขามีบุตรหลานมากมายล้วนมีสุขภาพดีแทบทั้งนั้น แม้นางจะมีอายุยืนถึง ๑๒๐ ปี ก็ดูไม่แก่ และเป็นบุคคลที่ได้รับความนับถืออย่างกว้างขวางในสังคม ได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นเอตทัคคะ ในบรรดาทายิกาทั้งปวง
  3. สงกรานต์ : การย้าย คือ ดวงอาทิตย์ย้ายราศี ในที่นี้หมายถึงมหาสงกรานต์ คือพระอาทิตย์ย้ายเข้าสู่ราศีเมษ นับเป็นเวลาขึ้นปีใหม่อย่างเก่า จัดเป็นนักขัตฤกษ์ ซึ่งตามสุริยคติตกวันที่ ๑๓, ๑๔, ๑๕ เมษายน ตามปกติ (ส.สงฺกฺรานฺติ)
  4. อัยกี : ย่า, ยาย
  5. อัยยิกา : ย่า, ยาย
  6. สวาธยาย : ดู สาธยาย
  7. ครุธรรม : ธรรมอันหนัก, หลักความประพฤติสำหรับนางภิกษุณีจะพึงถือเป็นเรื่องสำคัญอันต้องปฏิบัติด้วยความเคารพไม่ละเมิดตลอดชีวิต มี ๘ ประการ คือ ๑.ภิกษุณีแม้บวชร้อยพรรษาแล้ว ก็ต้องกราบไหว้ภิกษุแม้บวชวันเดียว ๒.ภิกษุณีจะอยู่ในวัดที่ไม่มีภิกษุไม่ได้ ๓.ภิกษุณีต้องไปถามวันอุโบสถและเข้าไปฟังโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน ๔.ภิกษุณีอยู่จำพรรษาแล้วต้องปวารณาในสงฆ์ ๒ ฝ่ายโดยสถานทั้ง ๓ คือ โดยได้เห็น โดยได้ยิน โดยรังเกียจ (รังเกียจหมายถึง ระแวงสงสัยหรือประพฤติกรรมอะไรที่น่าเคลือบแคลง) ๕.ภิกษุณีต้องอาบัติหนัก ต้องประพฤติมานัตในสงฆ์ ๒ ฝ่าย (คือ ทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์) ๑๕ วัน ๖.ภิกษุณีต้องแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ์ ๒ ฝ่าย เพื่อนางสิกขมานา ๗.ภิกษุณีไม่พึงด่าไม่พึงบริภาษภิกษุไม่ว่าจะโดยปริยายใดๆ ๘.ไม่ให้ภิกษุณีว่ากล่าวภิกษุแต่ภิกษุว่ากล่าวภิกษุณีได้

ETipitaka Pali-Thai Dict : ย้าย, more than 5 found, display 1-5
  1. นิพฺพาหติ : ก. นำออก, นำไป, ย้าย, เคลื่อน; ทำให้ปลอดภัย
  2. อปกสฺสติ : ก. ฉุดไป, นำออก, ย้าย
  3. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  4. ฉฑฺฑก : ค. ผู้ทิ้ง, ผู้เคลื่อนย้าย
  5. นิทฺทาน : นป. การตัดขาด, การเอาออก, การโยกย้าย, การทำลาย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ย้าย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ย้าย, 2 found, display 1-2
  1. ย่า, ยาย : อยฺยิกา, มาตามหี
  2. พูดหยายคาย : ผรุสาย วาจาย, อกฺโกสกปริภาสโก

(0.1678 sec)