Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง, ความ , then ความ, ความรมดรวง, ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระมัดระวัง, 3699 found, display 1151-1200
  1. นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  2. นข : (ปุ. นปุ.) เล็บ(ทั้งเล็บมือเล็บเท้า),เดือยไก่,วิ.นตฺถิขํอินฺทฺริยํเอตฺถาตินโข(ไม่มีความรู้สึก).ส.นข.
  3. นคฺคตฺต : นป. ความเป็นผู้เปลือย, การเปลือยกาย
  4. นจฺจคีตวาทิตาทิรติปฺปเภท : (วิ.) มีความยินดี ในการเล่นมีการฟ้อนและการขับและการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท. เป็น ฉ. ตุล. มี ส. ทวัน., ฉ. ตุล. และ สงตัป. เป็นท้อง.
  5. นตฺถิกทิฏฺฐิ : อิต. ความคิดเห็นว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  6. นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
  7. นตฺถิตา : อิต. ความเป็นคืออันไม่มี, ความไม่มี, ความไม่ปรากฏ
  8. นตฺถิภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง... ไม่มีอยู่, ภาวะ แห่ง...ไม่มีอยู่, ความไม่มี.
  9. นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
  10. นนฺทิ : (อิต.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ฯลฯ. วิ. นนฺทนํ นนฺทิ อิ ปัจ. ส. นนฺทิ.
  11. นนฺทิกฺขย : ป. ความหมดสิ้นไปแห่งความอยาก
  12. นนฺทิชห : ป. การละความเพลิดเพลิน, สละความสนุกสนาน
  13. นนฺทิภว : ป. ความมีอยู่, ความดำรงแห่งความเพลิน, ความเพียบพร้อมไปด้วยความเพลิดเพลิน
  14. นนฺทิมุขี : ค. มีดวงหน้าส่องถึงความยินดีปรีดา, มีหน้าแสดงความร่าเริงแจ่มใส
  15. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  16. นนฺทิสมุทยน : นป. ความก่อตั้งขึ้นแห่งความยินดี, เหตุให้เกิดความเพลิน
  17. นนฺทิสโยชน : นป. การผูกมัดด้วยความอยาก
  18. นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  19. นมน : (ปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  20. นมม : (นปุ.) ความสุข. นมมํ + ย ปัจ.
  21. นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
  22. นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
  23. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  24. นยน : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์, นัยน์ตา. วิ. เนติ อตตโน นิสสิตํ ปุคคลนติ นยนํ. นี ปาปุณเน, ยุ. อภิฯ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. นยตีติ นยนํ นียติ เอเตนาติ วา นยนํ. นี นยเน. การถึง, การบรรลุ, การได้, การนำ, การนำไป, ความถึง, ฯลฯ. วิ. นยนํ คมนํ นยนํ ส. นยน.
  25. นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  26. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  27. นรกคฺคิ : ป. ไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
  28. นรกงฺคาร : ป. ถ่านไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
  29. นสฺส : (ปุ.) ความแตก, ความทำลาย, ความสูญ, ความหาย, ความหายไป, ความตาย. นสฺ อทสฺสเน, อ, สฺสํโยโค.
  30. นสฺสน : นป. ความพินาศ, ความฉิบหาย, ความทำลาย, สูญหาย
  31. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  32. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  33. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  34. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  35. นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.
  36. นานตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของต่างๆ, ฯลฯ.
  37. นานตฺตา : (อิต.) ความต่าง, ความต่างกัน.
  38. นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
  39. นานาจิตฺต : ค. มีจิตใจแตกต่างกัน, มีความคิดไม่เหมือนกัน
  40. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  41. นานาวาส : ค. มีวาทะต่างๆ กัน; มีความคิดไม่เหมือนกัน
  42. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  43. นาส : (ปุ.) ความตาย, ความเสื่อม, ความฉิบ หาย, ความพินาศ, ความย่อยยับ ความป่นปี้, การทำลาย, การฆ่า, การฆ่าฟัน. นสฺ อทสฺสเน, โณ. ส. นาศ.
  44. นิกฺกงฺข : ค. ไม่มีความสงสัย, หมดความสงสัย, ไว้ใจได้
  45. นิกฺกงฺขา : อิต. การไม่มีความสงสัย
  46. นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
  47. นิกฺกรุณ : ค. ปราศจากความกรุณา, ไม่มีความเอ็นดู
  48. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  49. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  50. นิกฺกาม, - มี : ค. ปราศจากกาม, ไม่มีความใคร่, หมดความอยาก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3699

(0.1087 sec)