Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง, ความ , then ความ, ความรมดรวง, ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระมัดระวัง, 3699 found, display 3601-3650
  1. อุพฺพิชฺชนา : อิต. ความยุ่งยากใจ, ความหวาดเสียว, ความกลัว
  2. อุพฺพิล : นป. ความเบิกบาน, ความปลื้มใจ
  3. อุพฺพิลาวิตตฺต : นป. ความเป็นผู้เบิกบานใจ, ความชื่นบาน
  4. อุพฺเพค : ป. ความตื่นเต้น
  5. อุพฺเพคี : ค. มีความกลัว; มีความหวาดเสียว
  6. อุพฺเพชนิย อุพฺเพชนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่ง ความหวาดเสียว, ฯลฯ.
  7. อุพฺเพฐน : นป. ความห่อหุ้ม, ความผูกมัด
  8. อุพฺภ : (ปุ. นปุ.) ความเต็ม, ความบริบูรณ์. อุพฺภฺ ปูรเณ, อ.
  9. อุพฺภนา อุภนา : (อิต.) ความเต็ม, ฯลฯ. ศัพท์ หลังลบ พฺ หรือตั้ง อุภฺ ปูรเณ, ยุ.
  10. อุพฺภว : (ปุ.) การเกิด, ความเกิด. วิ. อุทฺธํ ภวนํ อุพฺภโว.
  11. อุมฺมาทนา : อิต. ความเป็นบ้า, ความวิกลจริต
  12. อุมฺมุข : ค. มีหน้าหงาย, ไม่ระมัดระวัง; ผู้คอย
  13. อุมา : อิต. ความโชติช่วง, ความเปล่งปลั่ง
  14. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  15. อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
  16. อุยฺโยค : ป. การประกอบ, การกระทำ; การออกไป, ความเสื่อม, ความวอดวาย
  17. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  18. อุรตฺตาสึ : ก. วิ. ตีอกชกตัวเอง (แสดงความเสียใจ)
  19. อุรุนฺทา : อิต. ความโล่งอก, การหายใจสะดวก
  20. อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง ฬ เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
  21. อุลฺโลลนา : อิต. ความโลเล, ความเหลาะแหละ, ความไม่เพียงพอ, ความอยาก
  22. อุส : (ปุ.) ความเร่าร้อน. อุสฺ ทาเห, อ.
  23. อุสฺสกฺก : (ปุ.?) ความกังวล, ความเอาใจใส่. อุปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, อ.
  24. อุสฺสนฺนตา : อิต. ความพอกพูน, ความหนาขึ้น, ความเต็ม
  25. อุสฺสย : (ปุ.) ความสูงขึ้น, ความชัน. อุปุพฺโพ, สิ คติยํ, โณ.
  26. อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
  27. อุสฺสหน : นป. อุตสาหะ, ความเพียร, ความอาจ, ความสามารถ
  28. อุสฺสาท : ป. ความเต็มเปี่ยม, ความมากมาย; ความวุ่นวาย, เสียงกึกก้อง
  29. อุสฺสาวน : นป. การประกาศ, การแจ้งความ
  30. อุสฺสาห : (ปุ.) ความเพียร, ฯลฯ, ความอาจหาญ, ความงอกขึ้น, ความกล้าขึ้น, ความอดกลั้น, อุสสาหะ, อุสาหะ, อุตสาหะ. วิ. อุ ทุกฺข ลาภํ สหตีติ อุสสาโห. อุปุพฺโพ, สหฺ สหเณ, โณ, อุกาโร ทุกฺขลาเภ. ส. อุตฺสาห.
  31. อุสฺสุกฺก : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
  32. อุสฺสุกฺกติ : ก. ความขวนขวาย, พยายาม
  33. อุสฺสุยนา อุสฺสูยนา : (อิต.) กิริยาที่ขึ้งเคียด, กิริยาที่ชิงชัง, ความขึ้งเคียด, ความชิงชัง, ความโกรธ. อุสูยฺ โทสาวิกรเณ, ยุ. ซ้อน สฺ ศัพท์ ต้นรัสสะ.
  34. อุสฺสุยิตตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนริษยา, ความเป็นแห่งคนขึ้งเคียด, ฯลฯ.
  35. อุสฺสูรเสยฺยา : (อิต.) การนอนมีพระอาทิตย์ ในเบื้องบน, การนอนสาย (ตื่นนอนสาย), ความเป็นคนนอนสาย (ตื่นสาย), ความเป็นผู้นอนสาย.
  36. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  37. อุสฺโสฬฺหิกา : อิต. มีความพยายาม, มีความเพียร
  38. อุสา : อิต. อาหาร; แม่วัว; ความร้อน; กลางคืน
  39. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  40. อุสุยฺยนา : อิต. ความริษยา, ความไม่อยากให้คนอื่นได้ดี
  41. อุสุยา อุสฺสูยา อุสูยา : (อิต.) ความริษยา, ฯลฯ. อุสูยฺ โทสาวิกรเณ, อ.
  42. อุฬารตา : อิต. ความโอฬาร, ความยิ่งใหญ่, ความประเสริฐ
  43. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น ฬ เป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  44. อูนตฺต : (นปุ.) ความหย่อน, ฯลฯ. ตฺต ปัจ. สกัดให้เป็นนาม.
  45. อูนตา : อิต. อูนตฺต นป. ความหย่อน, ความพร่อง
  46. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  47. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  48. เอกฉนฺท : (วิ.) มีความพอใจอย่างเดียวกัน, มี ความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน, มีความเห็น เป็นอย่างเดียวกัน.
  49. เอกตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งธรรมหมวด เดียว, ความเป็นแห่งธรรมหมวดเดียวกัน, ความเป็นธรรมหมวดเดียวกัน.
  50. เอกโต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, โดยส่วน- เดียวกัน, โดยความเป็นอันเดียวกัน, โดย ข้างเดียว, ข้างเดียว, รวมกัน, ร่วมกัน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | [3601-3650] | 3651-3699

(0.1391 sec)