Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง, ความ , then ความ, ความรมดรวง, ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระมัดระวัง, 3699 found, display 2551-2600
  1. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  2. โสภา : (อิต.) ความดี, ความงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. วิ. สุนฺทรํ ภาตีติ โสภา. สุนฺทรปุพฺโพ, ภาทิตฺติยํ, อ. สุภฺ ทิตฺติยํ วา, โณ, อิตฺถิยํ อา.
  3. โสภิณี : (อิต.) หญิงงาม. ไทย โสภิณี โสเภณี ใช้ในความว่า หญิงงามเมือง คือหญิงที่หากินในทางประเวณี เป็นศัพท์ที่ตัดมาจากคำ นครโสภิณี.
  4. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  5. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  6. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  7. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  8. โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
  9. หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
  10. หตฺถการ : (ปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  11. หตฺถกิจฺจ : (นปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  12. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  13. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  14. หติ : (อิต.) ความเบียดเบียน. วิ. หนนํ หติ. หนฺ หึสายํ, ติ, นฺโลโป.
  15. หรายน : (นปุ.) ความละอาย, หเร ลชฺชายํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อาย.
  16. หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
  17. หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
  18. หาน : (นปุ.) ความละ, ความสละ, ความวาง, ความปล่อย. หา จาเค, ยุ.
  19. หาน หานิ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเลว, ความทราม, ความทรุดโทรม. หา ปริหานิเน, ยุ, นิ.
  20. หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหาย. หา ปริหานิเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ยุ เป็น อน.
  21. หาปน : นป. ความเสื่อม, ความลดลง
  22. หาสกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นความยินดี, ฯลฯ, ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย.
  23. หิ : (นปุ.) ทุกข์, ความทุกข์. หา ปริหานิเย, อิ.
  24. หิต : (นปุ.) ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. หิ. วุฑฺติยํ, โต.
  25. หิตา : (อิต.) ความเกื้อกูล, ประโยชน์เกื้อกูล, ประโยชน์. หิ วุฑฺฒิปวตฺตเนสุ, โต.
  26. หินฺท : (นปุ.) ความตาย.
  27. หินฺทคู : (ปุ.) สัตว์ วิ. หินฺทํ มาณํ คจฺฉตีติ หินฺทคู(ผู้ถึงความตาย). หินฺท+คมฺ+รู ปัจ. ลบที่สุดธาตุ. ไตร. ๒๕.
  28. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  29. หิรโอตฺตปฺป หิโรตฺตปฺป : (นปุ.) ความละอายบาปและความกลัวบาป, ความละอายแก่ใจและความเกรงกลัว.
  30. หิริ : (อิต.) ความละอาย, ความเกลียด, ความละอายบาป, ความเกลียดบาป, ความละอายใจ, ความละอายแก่ใจ. วิ. หิรียติ ปาปาติ หิริ. หิริ ลชฺชิยํ, อิ. ฎีกาอภิฯ เป็น หิรี ธาตุ อิ ปัจ. สำเร็จรูปเป็น หิรี. ไตร. ๒๐, ๒๒ ก็เป็น หิรี.
  31. หิริโกปีน : นป. สิ่งที่ยังหิริให้กำเริบ, สิ่งที่ทำให้เกิดความละอาย
  32. หิโรตฺตปฺป : นป. ความละอายใจและความเกรงกลัวบาป
  33. หิลาทน : (นปุ.) ความสบาย, ฯลฯ.
  34. หึสาสีล : (วิ.) ผู้มีความเบียดเบียนเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. หึสา สีลํ อสฺส อตฺถีติ หึสาสีโล.
  35. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  36. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  37. อกฺโกธ อโกธ : (ปุ.) ความไม่โกรธ. นปุพฺโพ, กุธฺ โกเป, อ.
  38. อกฺขณาเวธี : ป. นายขมังธนูผู้มีความชำนาญในการยิงศรอย่างสายฟ้าแลบ
  39. อกฺขย : ๑. นป. ความสงบสุข, พระนิพพาน ; ๒. ค.ไม่เปลี่ยนแปลง, ยั่งยืน
  40. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  41. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  42. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  43. อกมฺปิยตฺต : นป. ความไม่หวั่นไหว, ความไม่คลอนแคลน
  44. อกมฺปียตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันโลกธรรมให้หวั่นไหวไม่ได้.
  45. อกมฺมกิริยาอกมฺมกฺริยา : (อิต.) กิริยาไม่มีกรรม คือกิริยาที่ได้ความสมบรูณ์มิต้องมีกรรมคือผู้ถูกทำมารับ, กิริยาที่ไม่ต้องเรียกหากรรม
  46. อกรณ : (นปุ.) การไม่ทำ, การงดเว้น, ความไม่ทำ. ความงดเว้น, นปุพฺโพ, กร. กรเณ, ยุ. น บทหน้า กรฺ ธาตุในความทำ ยุ ปัจ.
  47. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  48. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  49. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  50. อกิจฺฉน : (วิ.) หมดความขวนขวายในการงาน วิ. นตฺถิ กิญจนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน.จน, เข็ญใจ.วิ.นตฺถิกิญฺจนํ อปฺปมตฺตมฺปิธนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน. ส. อกิญจน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | [2551-2600] | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3699

(0.1201 sec)