Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง, ความ , then ความ, ความรมดรวง, ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระมัดระวัง, 3699 found, display 2501-2550
  1. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  2. สุตฺตเวฐน : (นปุ.) กระสวยทอผ้า, ความพัดหลอด. วิ. สุตฺเต เวฐนํ สุตฺตเวยฐนํ.
  3. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  4. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  5. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  6. สุทุตฺตร : (วิ.) อัน...ข้ามได้ด้วยยากยิ่ง, อันบุคคลข้ามได้ด้วยความยากยิ่ง, ข้ามไปได้ด้วยความยากยิ่ง.
  7. สุทุทฺส : (วิ.) อัน...เห็นได้ด้วยความยากยิ่ง.
  8. สุธารส : (ปุ.) รสทิพย์, น้ำใจ, ความใคร่?. สุธารส ราชาศัพท์ว่า น้ำชา.
  9. สุนฺทรตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็น...อันงาม.
  10. สุปภาต สุปฺปภาต : (นปุ.) ความสว่างดี, สว่างดี, ฤกษ์งาม.
  11. สุป สุปน : (นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ. สุปฺ สยเน, อ, ยุ.
  12. สุปิน : (ปุ. นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ, การฝัน, ความฝัน. วิ. สุปนํ สุปินํ. สุปฺ สยเน, อิโน.
  13. สุภาว : (ปุ.) ความเห็นดี, ความมีดี, ความเกิดดี, ความเรียบร้อย, ความอ่อนโยน, ความละมุนละม่อม, สุภาพ.
  14. สุมติ : อิต. ความคิดดี, คนฉลาด
  15. สุเมธา : (อิต.) ปัญญาดี, ความรู้ดี, ปรีชาดี.
  16. สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
  17. สุราทิโลภ : (ปุ.) ความโลภในเพราะวัตถุมีสุราเป็นเหตุ.
  18. สุรูปตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีรูปดี, ความเป็นผู้มีรูปได้สัดส่วน, ความเป็นผู้มีรูปร่างสมส่วน.
  19. สุวตฺถิ : (นปุ.) ความงาม, ความเจริญ, ความดี, ความปลอดโปร่ง, ความสวัสดี, สวัสดี.
  20. สุวี : (วิ.) ผู้มีความดี, ผู้มีความงาม.
  21. สุสฺสน : (นปุ.) ความเหี่ยว, ความแห้ง, ความผาก. สุสฺโสสเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เปน อน.
  22. สุสฺสรตา : อิต. ความเป็นผู้มีเสียงเพราะ
  23. สูรต : (วิ.) ผู้มีความยินดี, ผู้มีความเอ็นดู. สุปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, โต.
  24. สูล : (ปุ. นปุ.) ความจุกเสียด, ความเสียดแทง, ขวากเหล็ก, หอก, หลาว, เครื่องแทง. สูลฺ รุชายํ, อ. ส. ศูล.
  25. เสก : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. เสกฺ คติยํ, อ.
  26. เสฺนห : ป. ความรัก, ความเยื่อใย ; น้ำมัน, ยาง
  27. เสริ : อิต. ความพอใจของตน, ความเป็นใหญ่แก่ตน
  28. เสริจารี : ป. ผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  29. เสริตา : อิต. ความเป็นผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  30. เสริวิหารี : ค. ผู้อยู่ตามความพอใจของตน
  31. เสรีนิยม : (ปุ.) การกำหนดในเสรีภาพ, ความพอใจในเสรีภาพ, ความชอบใจในเสรีภาพ.
  32. เสรีภาพ : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีอิสระ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีเสรี, ความเป็นผู้มีเสรี, ความมีเสรี.
  33. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  34. เสว : (ปุ.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
  35. เสวนา เสวา : (อิต.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
  36. โสกปเรต โสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกครอบงำแล้ว, ผู้ถูกความโศกครอบงำ.
  37. โสกวิโนทน : นป. การบรรเทาความโศก
  38. โสกสลฺล : นป. ลูกศรคือความโศก
  39. โสกี : (วิ.) ผู้มีความแห้ง, ฯลฯ.
  40. โสขย : นป. ความสุข, ความสบาย
  41. โสขฺย : (นปุ.) ความสุข, ฯลฯ. สุข+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  42. โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
  43. โสจ : (นปุ.) การอบ, การชำระ, ความสะอาด. สุจฺ โสจเน (สุทฺเธ), โณ.
  44. โสจนา : (อิต.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  45. โสจ โสจน : (นปุ.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  46. โสตฺต : (นปุ.) การนอนหลับ, การหลับ, ความหลับ. สุปฺ สยเน, โต, อุสฺโส, ปสฺส โต.
  47. โสตฺถิ : (นปุ.) ความสวัสดี, สวัสดี, ความเจริญ, ความดี, ความงาม, ความปลอดโปร่ง, ความสุข.
  48. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  49. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  50. โสตาวธาน : (นปุ.) การเงี่ยโสตลง, ความตั้งโสตลง คือการตั้งใจฟัง. โสต+อว+ธาธาตุ ยุ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | [2501-2550] | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3699

(0.0893 sec)