Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง, ความ , then ความ, ความรมดรวง, ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระมัดระวัง, 3699 found, display 651-700
  1. ชาตตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เกิดแล้ว, การเกิด
  2. ชาติกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งการเกิด, ความสิ้นชาติ
  3. ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
  4. ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
  5. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  6. ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
  7. ชาน ชานน : (นปุ.) อันรู้, ความรู้, ญา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ญา เป็น ชา ยุ เป็น อน, อานน. ส. ชานน.
  8. ชาน, ชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจ, ความจำได้, ความชำนาญ
  9. ชานนตา : อิต. ความรู้
  10. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  11. ชานิย ชานี : (วิ.) ผู้มีความเสื่อม, ฯลฯ. อิยปัจ. อี ปัจ.
  12. ชายตฺตน : นป. ความเป็นเมีย, ความเป็นภริยา
  13. ชายน : นป. ความเกิด, ความอุบัติ
  14. ชารตฺตน : นป. ความเป็นชู้, ความมีชู้, ความคบชู้
  15. ชาลตณฺหา : อิต. ข่ายคือตัณหา, อำนาจความอยาก, ความดิ้นรน
  16. ชาลา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ไฟ, เปลวไฟ, โคมไฟ. วิ. ชลตีติ ชาลา. ชลฺ ทิตฺติยํ, โณ. ชลฺ อปวารเณ วา. ชิ อภิเวชิเต วา, โล. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา.
  17. ชิคจฺฉา : อิต. ความอยาก, ความหิว, ความกระหาย
  18. ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
  19. ชิคึสนตา, ชิคึสนา, ชิคึสา : อิต. ความอยากได้, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความโลภ
  20. ชิคุจฺฉน : (นปุ.) ความติเตียน,ฯลฯ
  21. ชิคุจฺฉา : (อิต.) ความติเตียน,ฯลฯ
  22. ชิฆจฺฉา : อิต. ความหิว, ความอยาก
  23. ชิฆจฺฉาปรม : (วิ.) มีความหิวเป็นอย่างยอด.
  24. ชิฆจฺฉิต : (วิ.) ผู้มีความปรารถนาเพื่ออันกิน เกิดแล้ว วิ. ชิฆจฺฉา สญฺชาตา ยสฺส โส ชิฆจฺฉิโต ชิฆจฺฉา ศัพท์ ต ปัจ. อิ อาคม.
  25. ชิณฺณตา : อิต. ความชรา, ความแก่, ความทุพพลภาพ
  26. ชิต : ๑. นป. ความชนะ; ๒. ชนะแล้ว, มีชัยแล้ว, ปราบปรามได้แล้ว
  27. ชิตตฺต : ๑. นป. ความมีชัย, ความชนะ; ๒. ค. ผู้มีตนชนะแล้ว, ผู้ชนะตนแล้ว
  28. ชิติ : (อิต.) ความชนะ, ความมีชัย. ชิ ชเย, ติ.
  29. ชิน : (ปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเสื่อม สิ้น, ความย่อยยับ. ชิ ชานิยํ, อิโน. ผักชี ล้อม ก็ แปล.
  30. ชิเนนฺท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (เป็นจอมแห่งความชนะ).
  31. ชิมฺหตา : อิต. ความคดโกง, ความไม่ซื่อ
  32. ชิมฺเหยฺย : นป. ความคด, ความหลอกลวง, ความฉ้อโกง
  33. ชิรณ ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ. ยุปัจ.
  34. ชิวฺหาปสาท : ป. ชิวหาประสาท, ความรับรู้รส
  35. ชิวฺหาวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกทางลิ้น, ความรับรู้รส
  36. ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
  37. ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ ชรฺ ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง อ เป็น อี. ส. ชีรฺณ.
  38. ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
  39. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  40. ชีวน : (นปุ.) น้ำ, ความเป็นอยู่, ความเลี้ยง ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต. ชีวฺ+ยุ ปัจ. ส. ชีวน.
  41. ชีวิกา : (อิต.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิตอยู่. การเลี้ยงชีวิต ( มีกสิกรรมเป็น ต้น ). ชีวฺ+ณฺวุ ปัจ. อิอาคม อาอิต.
  42. ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
  43. ชีวิตกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งชีวิต, ชีวิตักษัย, ตักษัย ( ใช้ในบทกลอน ).
  44. ชีวิตตกปฺปนา : (อิต.) การจัดแจงชีวิต, ความคิด ในการดำรงค์ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต.
  45. ชีวิตนิกนฺติ : อิต. ความห่วงใยในชีวิต
  46. ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
  47. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  48. ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
  49. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  50. ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | [651-700] | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3699

(0.0754 sec)