Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง, ความ , then ความ, ความรมดรวง, ความระมัดระวัง, ระมัดระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระมัดระวัง, 3699 found, display 251-300
  1. กิเลทน : (นปุ.) ความเปียก, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  2. กิเลสกฺขย : ป. ความสิ้นแห่งกิเลส
  3. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  4. กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
  5. กิเลสวูปสมนนิพฺพานรติ : (อิต.) ความยินดี ในพระนิพพานอันเป็นเครื่องเข้าไประงับ ซึ่งกิเลส.
  6. กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
  7. กีฬนา : อิต. การเล่น, การเล่นกีฬา, ความร่าเริง
  8. กีฬา : (อิต.) การเล่น, ความซน, กีฬา, กรีฑา. กีฬฺ กีฬเน, อ.
  9. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  10. กึวาที : ค. ผู้ชอบกล่าวถึงอะไร, ผู้มีความเห็นว่าอย่างไร
  11. กึอตฺถิย : ค. มีความต้องการอะไร
  12. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  13. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  14. กุจฺฉิฑาห, - ทาห : ป. ความเร่าร้อนในท้อง, การอักเสบในกระเพาะ
  15. กุจฺฉิวิการ : ป. ความพิการแห่งท้อง, ลำไส้พิการ
  16. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  17. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  18. กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
  19. กุฏิลตา : อิต. ความคด, ความโกง
  20. กุฏิลภาว : ป. ความเป็นคนโกง, ความเป็นผู้มีนิสัยโกง
  21. กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
  22. กุติตฺถ : นป. ทำผิด, ลัทธิผิด, ความเห็นผิด
  23. กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
  24. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  25. กุทฺธ : (ปุ.) ความโกรธ, ความเคือง. กุธฺ โกเป, โต.
  26. กุทิฏฐิ : อิต. ความเห็นชั่ว, ความเห็นผิด, มิจฉาทิฐิ
  27. กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
  28. กุมติ : (อิต.) ความรู้อันบัณฑิตเกลียด. กุจฺฉิต+มติ.
  29. กุมตี : (ปุ.) คนพาล (ผู้มีความรู้อันบัณฑิตเกลียด) อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  30. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  31. กุรุจิ : (ปุ.) หม้อข้าว. กุร+อุจฺ ธาต์ในความรวบรวม อิ ปัจ.
  32. กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
  33. กุลมจฺฉริย : นป. ความตระหนี่ตระกูล, ความหวงแหนตระกูล
  34. กุลฺลกวิหาร : ป. วิหารธรรมตื้นๆ , ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างง่ายๆ, ความเป็นอยู่อย่างธรรมดา
  35. กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
  36. กุวิตกฺก : ป. ความตรึกผิด, ความคิดผิด
  37. กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
  38. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  39. กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
  40. กุสลเจตนา : อิต. กุศลเจตนา, เจตนาที่เป็นกุศล, ความตั้งใจดี
  41. กุสลตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ความชำนาญ
  42. กุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความดี, ฯลฯ.
  43. กุสลวิตกฺก : ป. กุศลวิตก, ความตรึกที่เป็นกุศล
  44. กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
  45. กุสลานุเอสี : ค. ผู้แสวงหากุศล, ผู้แสวงหาความดี
  46. กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
  47. กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
  48. กุห กุหึ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ใน ที่ไหน, ในที่ไหนๆ. (สำหรับประโยคที่ เนื้อความเป็ยพหุ.)
  49. กุหณา กุหนา : (อิต.) การหลอก, ฯลฯ, ความหลอก, ฯลฯ. ส.กุหน.
  50. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3699

(0.1345 sec)