Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงเพลง, เสียง, เพลง , then พลง, เพลง, สยง, เสียง, เสียงเพลง .

Royal Institute Thai-Thai Dict : เสียงเพลง, 1183 found, display 1151-1183
  1. เอ็ดตะโร : ก. ทําเสียงอึกทึกครึกโครม, ดุด้วยเสียงดังลั่น. ว. อึกทึกครึกโครม.
  2. เอ่ย ๒ : ก. เปล่งเสียงพูด, เริ่มพูด. ว. คําออกเสียงใช้ในความเพื่อให้ทาย เช่น นกอะไรเอ่ย.
  3. เอ้อระเหย : ว. ปล่อยอารมณ์ตามสบาย. น. คําขึ้นต้นเพลงพวงมาลัย.
  4. เอะอะ : ก. อึกทึก, ทําเสียงดังโวยวาย; ทันทีทันใด, ปุบปับ, ไม่ทันไตร่ตรอง, ไม่บอกกล่าวเล่าแจ้ง, เช่น เอะอะก็ไป เอะอะก็ด่า, อึกอัก ก็ว่า.
  5. เอะอะมะเทิ่ง : (ปาก) ก. ส่งเสียงดัง, เอ็ดตะโรโดยไม่เกรงใจผู้อื่น.
  6. เอาชื่อ : ว. มุ่งให้ได้ชื่อเสียง เช่น ทำงานเอาชื่อ.
  7. เอียด ๒, เอี๊ยด : ว. เสียงดังเช่นนั้น.
  8. เอื๊อก : ว. เสียงดังในคออย่างเสียงดื่มน้ำแรง ๆ เช่น กลืนน้ำลายดังเอื๊อก.
  9. แอด, แอด ๆ, แอ๊ด, แอ๊ด ๆ : ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเปิดหรือปิดประตูฝืด ๆ.
  10. แอ่ว : (ถิ่นอีสาน) ก. พูดคุย (ใช้แก่หนุ่มสาว); (ถิ่นพายัพ) เที่ยว, ถ้า ไปเที่ยวเกี้ยวผู้หญิง เรียกว่า แอ่วสาว. น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า แอ่ว เช่น แอ่วลาว แอ่วเคล้าซอ.
  11. โอ๋ : อ. คําที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเช่นนั้นเพื่อปลอบเด็ก. ก. ตามใจ, เอาอกเอาใจ.
  12. โอ้ ๑ : (กลอน) อ. คําในคําประพันธ์ ใช้ในความรําพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคย เลยจะห่างเหเสนหา. (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่า เสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต. (อิเหนา). น. ชื่อ เพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า โอ้ เช่น โอ้ปี่ โอ้ร่าย โอ้โลม.
  13. โอ้ ๒ : ว. เสียงดัง, เปิดเผย, (ใช้แก่กริยาคุย).
  14. โอ้ก : ก. อาเจียน. ว. เสียงอย่างเสียงอาเจียน.
  15. โอ๊ก ๑ : ว. เสียงอย่างเสียงไก่ร้อง; อาการที่แสดงว่าเหลืออดเหลือทน เช่น ของแพงจนคนร้องโอ๊ก.
  16. โอ้กอ้าก : ว. เสียงอย่างเสียงอาเจียนติดต่อกัน, โดยปริยายหมายถึง อาการของผู้หญิงที่แพ้ท้องหรืออาการของผู้ที่จะเป็นลม.
  17. โอด : น. ชื่อเพลงสำหรับใช้เป็นหน้าพาทย์บรรเลงประกอบกิริยาร้องไห้ สลบหรือตาย; วิธีดำเนินทำนองเพลงไทยอย่างหนึ่ง ซึ่งดำเนินไป โดยแช่มช้าโหยหวน และโศกซึ้ง. ก. ร้องไห้.
  18. โอษฐชะ : (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจาก ริมฝีปาก ได้แก่พยัญชนะวรรค ป คือ ป ผ พ ภ ม และอักษร ว กับ สระอุ อู. (ป. โอฏฺ?ช; ส. โอษฺ?ฺย).
  19. ไอ ๒ : ก. อาการที่ลมพุ่งขึ้นมาจากปอดโดยแรง เพื่อขับสิ่งที่อาจเป็น อันตรายออกมา ทําให้เกิดเสียงพิเศษจากลําคอ.
  20. ไอกรน : น. โรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่ง พบในเด็กที่มีไข้ ไอมาก และมักมีเสียงเกิดจากการหายใจที่ลําบากตามหลังอาการไอ.
  21. พลั่ง, พลั่ง ๆ : [พฺลั่ง] ว. อาการที่หลั่งไหลออกมาไม่ขาดสายด้วยกําลังดัน เช่น น้ำเดือดพลั่ง ๆ น้ำไหลพลั่ง ๆ.
  22. พลุ่ง : [พฺลุ่ง] ก. อาการที่ไอน้ำหรือควันดันตัวพุ่งออกมาโดยแรง เช่น น้ำ เดือดไอน้ำพลุ่งขึ้นมา ไฟไหม้ควันพลุ่งขึ้นมา, โดยปริยายหมายถึง อาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น โทสะพลุ่งขึ้นมา อารมณ์เดือดพลุ่ง.
  23. พลั้ง : [พฺลั้ง] ก. พลาดโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ พลาด เป็น พลั้งพลาด หรือ พลาดพลั้ง.
  24. พลับพลึง : [พฺลึง] น. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Crinum asiaticum L. ในวงศ์ Amaryllidaceae ใบยาวใหญ่เป็นกาบ หัวมีพิษ ดอกสีขาว กลิ่นหอม.
  25. พลาดพลั้ง : [พฺลั้ง] ก. ผิดพลาดไปโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, พลั้งพลาด ก็ว่า.
  26. พลิกแพลง : [แพฺลง] ว. ยักเยื้องถ่ายเทเป็นอย่างอื่น ๆ, ที่เปลี่ยนแปลง ให้ผิดไปจากแบบปรกติธรรมดา, เช่น พูดพลิกแพลง ทำพลิกแพลง เล่นพลิกแพลง เตะตะกร้อท่าพลิกแพลง. ก. กลับกลาย, เปลี่ยนแปลง, เช่น วิธีการพลิกแพลง; ดัดแปลง, ยักย้ายถ่ายเท, เช่น ช่างพลิกแพลง.
  27. เพลิง : [เพฺลิง] น. ไฟ เช่น เพลิงไหม้บ้าน ดับเพลิง. (ข. เภฺลิง).
  28. แพลง : [แพฺลง] ก. บิดไป, พลิกตะแคง.
  29. โพลง : [โพฺลง] ว. สว่างแจ้ง, ลุกสว่าง, เช่น ไฟลุกโพลง สว่างโพลง; ใช้ ประกอบกับคํา ขาว เป็น ขาวโพลง หมายความว่า ขาวมาก, ขาว ทั่วทั้งหมด, (ใช้แก่ผม) เช่น ผมหงอกขาวโพลงไปทั้งหัว, โพลน ก็ว่า; ลักษณะที่เบิกกว้าง เช่น ตาลุกโพลง ลืมตาโพลง.
  30. โพล้ง : [โพฺล้ง] น. ชื่อเบี้ยชนิดหนึ่ง ตัวใหญ่ ใช้ขัดผ้า.
  31. วางเพลิง : [เพฺลิง] ก. จุดไฟเผาอาคารบ้านเรือนหรือทรัพย์สมบัติ; โดยปริยายหมายความว่าให้ร้ายคนอื่น.
  32. อมเพลิง : [เพฺลิง] น. เรียกไม้เสาที่มีเปลือกและกระพี้เป็นชั้น ๆ ว่า เสาอมเพลิง ถือว่าเป็นเสาไม่ดี.
  33. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1183]

(0.1224 sec)