Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : พา, 1557 found, display 1-50
  1. พา : ก. นําไปหรือนำมา.
  2. บุพพาสาฬหะ, บุรพอาษาฒ, ปุรพษาฒ : [-พาสานหะ, - พาสานละหะ, บุระพะอาสาด, บุบพะอาสาด, ปุระพะสาด] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๐ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปปากนกหรือช้างพลาย, ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้ ก็เรียก.
  3. พารณ, พารณะ : [พารน, พาระนะ] น. ช้าง. (ป., ส. วารณ).
  4. มึงวาพาโวย : ก. พูดจาเอะอะโวยวาย.
  5. บุรพอาษาฒ, บุพพาสาฬหะ, ปุรพษาฒ : [บุระพะอาสาด, บุบพะ อาสาด, บุบพาสานหะ, บุบพาสานละหะ, ปุระพะสาด] น. ดาวฤกษ์ ที่ ๒๐ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปปากนกหรือช้างพลาย, ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้ ก็เรียก.
  6. ปุรพษาฒ, บุรพอาษาฒ, บุพพาสาฬหะ : [-สาด, บุบพะอาสาด, บุระพะอาสาด, บุบพาสานหะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๐ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปปากนกหรือช้างพลาย, ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้ ก็เรียก.
  7. จุฬาลัมพา, จุฬาลำพา : น. โกฐจุฬาลัมพา. (ดู โกฐจุฬาลัมพา, โกฐจุฬาลําพา ที่ โกฐ).
  8. ชอบมาพากล : ว. ชอบกล, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ชอบมาพากล.
  9. ท้วง : ก. พูดเป็นทํานองไม่เห็นด้วย; พยุง, ประคอง, พา, เช่น ท้วงตน หนีไปได้.
  10. บริพาชก : [บอริพาชก] (แบบ) น. ปริพาชก, นักบวชผู้ชายนอกพระพุทธศาสนา ประเภทหนึ่งในอินเดีย. (ป. ปริพฺพาชก).
  11. บริพาชิกา, บริพาชี : [บอริ-] (แบบ) น. นักบวชผู้หญิงนอกพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่ง ในอินเดีย. (ป. ปริพฺพาชิกา, ปริพฺพาชี).
  12. บัพพาชน์ : [บับพาด] (แบบ) น. การขับไล่. (ป. ปพฺพาชน).
  13. ปริพาชก : [ปะริ-] น. นักบวชผู้ชายในอินเดีย นอกพระพุทธศาสนา, เพศหญิง ใช้ว่า ปริพาชิกา หรือ ปริพาชี. (ป. ปริพฺพาชก).
  14. ปัพพาชนะ : [ปับพาชะ-] (แบบ) น. การขับไล่. (ป.).
  15. ปัพพาชนียกรรม : [-ชะนียะ-] น. กิจของสงฆ์ทําในการขับไล่ภิกษุ; การขับไล่ออก จากหมู่. (ส. ปฺรวฺราชนียกรฺม; ป. ปพฺพาชนียกมฺม).
  16. พาล ๒, พาลา : (กลอน) ว. อ่อน, เด็ก, รุ่น. (ส., ป.); ชั่วร้าย, เกเร, เกะกะ, เช่น คนพาล. ก. หาเรื่องทำให้วุ่นวาย, หาเรื่องทำให้เดือดร้อน, เช่น พาลหาเรื่อง พาลหาเหตุ. น. คนชั่วร้าย, คนเกเร, เช่น คบคนพาพาพาไปหาผิด. (ป.).
  17. เอา ๑ : ก. ยึด เช่น เอาไว้อยู่; รับไว้ เช่น เขาให้ก็เอา; พา, นํา, เช่น เอาตัวมา; ต้องการ เช่น ทําเอาชื่อ ทำงานเอาหน้า; ถือเป็นสําคัญ เช่น เจรจาเอา ถ้อยคํา เอาพี่เอาน้อง; (ปาก) คําใช้แทนกริยาอื่น ๆ บางคําได้. ว. เมื่อ ใช้ลงท้ายกริยา เป็นการเน้นกริยาแสดงถึงการตั้งหน้าตั้งตาทําต่อเนื่อง กัน เช่น กินเอา ๆ.
  18. บุพพาสาฬหะ, บุรพอาษาฒ, ปุรพษาฒ : ดู บุพ-, บุพพ-.
  19. สัมพาหน์, สัมพาหะ : น. การนวดฟั้น. (ป.; ส. สํวาหน).
  20. โกฐจุฬาลัมพา, โกฐจุฬาลำพา : น. ชื่อเรียกเรือนยอด (แห้ง) ที่กําลังมีดอกของพืช ๓ ชนิด ในสกุล Artemisia วงศ์ Compositae เช่น ชนิด A. vulgaris L.
  21. : พยัญชนะตัวที่ ๓๐ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคํา ที่มาจากบาลีและสันสกฤต เช่น ภพ ภาพ สรรพ ผลลัพธ์.
  22. ไม่ชอบมาพากล : ว. ไม่น่าไว้วางใจ, ไม่เข้าที.
  23. ย่านพาโหม : น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Paederia วงศ์ Rubiaceae ลำต้นมีขน กลิ่นเหม็น เช่น ชนิด P. linearis Hook.f. ใช้แต่งกลิ่นอาหารและทำยา ได้, ตดหมูตดหมา ก็เรียก.
  24. ยุพา, ยุพาน, ยุพาพาล, ยุพาพิน : (กลอน) น. หญิงสาวสวย.
  25. ฤกษ์พานาที : น. ระยะเวลาที่เป็นฤกษ์.
  26. ลดเลี้ยวเกี้ยวพา : ก. พูดจาหว่านล้อมเป็นเชิงเกี้ยว.
  27. นำ : ก. ไปข้างหน้า เช่น นําขบวน นําเสด็จ, ออกหน้า เช่น วิ่งนํา, เริ่มต้น โดยมีผู้อื่นหรือสิ่งอื่นตามหรือทําตาม เช่น นําสวด นําวิ่ง, พา เช่น
  28. บุพพาษาฒ : [-พาสาด] น. เดือน ๘ แรก, (โบ) เขียนเป็น บุพพาสาฒ ก็มี. (ป. ปุพฺพาสาฬฺห; ส. ปูรฺวาษาฒ).
  29. พาณิชย, พาณิชย์ : [พานิดชะยะ, พานิด] น. การค้าขาย; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับการพาณิชย์และกิจการทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ พาณิชย์รวมตลอดทั้งการซื้อขายและแลกเปลี่ยนสินค้า การควบคุม และส่งเสริมเกี่ยวกับกิจการค้าและการประกันภัย. (ส. วาณิชฺย; ป. วาณิชฺช).
  30. พานร : [พานอน] น. ลิง. (ป., ส. วานร).
  31. พานรินทร์, พานเรศ : [พานะริน, พานะเรด] (กลอน) น. พญาลิง, ลิง.
  32. พาฬ, พา : [พาละ] น. สัตว์ร้าย, ช้างร้าย, สิงโต, งู, เสือ. (ป. พาล, วาฬ; ส. วฺยาฑ, วฺยาล).
  33. ภาชนะ : [พาชะนะ, พาดชะนะ] น. เครื่องใช้จำพวกถ้วยโถโอชามหม้อไหเป็นต้น สําหรับใส่สิ่งของ. (ป., ส.).
  34. ภาชนีย– : [พาชะนียะ–] (แบบ) น. ของควรแจก, ของควรแบ่ง. ว. ควรแจก, ควรแบ่ง. (ป.).
  35. ภาณกะ : [พานะกะ] (แบบ) น. ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก. (ป.).
  36. ภาณวาร : [พานะวาน] น. ธรรมที่จัดไว้เป็นหมวด, หมวดหนึ่ง ๆ; ข้อธรรม ที่จัดไว้เป็นหมวด, ข้อธรรมหมวดหนึ่ง ๆ สําหรับสาธยาย. (ป.).
  37. ภาตระ : [พาตะระ] น. พี่ชายน้องชาย. (ส. ภฺราตฺฤ).
  38. ภาพลักษณ์ : [พาบลัก] น. ภาพที่เกิดจากความนึกคิดหรือที่คิดว่าควรจะ เป็นเช่นนั้น, จินตภาพ ก็ว่า. (อ. image).
  39. ภารกิจ : [พาระ–] น. งานที่จําต้องทํา.
  40. ภารดี : [พาระ–] น. ถ้อยคํา, คําพูด, ภาษา. (ส. ภารติ).
  41. ภารต, ภารต– : [พารด, พาระตะ–] น. ชาวอินเดีย; คนแสดงละคร. (ส.).
  42. ภารธุระ : [พาระทุระ, พานทุระ] น. การงานที่รับทํา, กิจการที่ขวนขวาย ประกอบ.
  43. ภารยทรัพย์ : [พาระยะซับ] (กฎ) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของจะต้องรับภาระ บางอย่างที่เกิดจากภาระจํายอม, คู่กับ สามยทรัพย์.
  44. ภารยา : [พาระ–, พานระ–] น. ภรรยา. (ส.).
  45. ภาวนา : [พาวะ–] น. การทําให้มีขึ้นให้เป็นขึ้นทางจิตใจ. ก. สำรวมใจให้แน่วแน่ เป็นสมาธิ เช่น สวดมนต์ภาวนา, สำรวมใจตั้งความปรารถนา เช่น นั่ง ภาวนาขอให้พระช่วย. (ป.).
  46. ภาว–, ภาวะ : [พาวะ–] น. ความมี, ความเป็น, ความปรากฏ, เช่น ภาวะน้ำท่วม ภาวะ เศรษฐกิจตกต่ำ. (ป., ส.).
  47. ภาวศุทธิ : [พาวะสุดทิ] น. ความบริสุทธิ์แห่งใจ. (ส.).
  48. ภาษก : พาสก] น. ผู้พูด. (ส.).
  49. ภาสวร : [พาสะวอน] ว. สว่าง, มีแสงพราว. (ส.).
  50. สกฏภาระ : [พาระ] น. ของบรรทุกเกวียน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1557

(0.2440 sec)