Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หดหู่ , then หดห, หดหู่ .

Eng-Thai Lexitron Dict : หดหู่, more than 7 found, display 1-7
  1. dismal : (ADJ) ; หดหู่ ; Related:สิ้นหวัง, ท้อแท้ ; Syn:funereal, somber ; Ant:happy, joyful
  2. desolate : (ADJ) ; หดหู่ใจ ; Related:หดหู่, เหี่ยวแห้ง, ไร้ความสุข ; Syn:dispirited, heartsick ; Ant:hopeful, cheerful
  3. dispirited : (ADJ) ; ท้อใจ ; Related:หดหู่, สิ้นหวัง ; Syn:depressed, hopeless ; Ant:hopeful
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : หดหู่, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : หดหู่, more than 7 found, display 1-7
  1. หดหู่ : (V) ; depress ; Related:deject, be dispirit ; Syn:เศร้า, หม่นหมอง, ทุกข์ใจ, เศร้าสร้อย ; Ant:ชื่นบาน, ร่าเริง ; Samp:เมื่อได้ฟังเรื่องราวอันชวนให้อ่อนใจ ตัวเราก็พลอยหดหู่ไปกับเขาด้วย
  2. เศร้าใจ : (V) ; feel sad ; Related:feel depressed, be melancholy, be down-hearted, be low-spirited, be sad, droop ; Syn:หดหู่ ; Def:รู้สึกหดหู่ สาเหตุมักเป็นเพราะคนอื่น ; Samp:ผมมองเห็นสภาพของเขาแล้วเศร้าใจ
  3. หดหู่ใจ : (V) ; depress ; Related:dejected, dispirit ; Syn:หดหู่, เศร้า, เศร้าโศก, เศร้าสลด, ซึมเซา, ห่อเหี่ยว ; Ant:เบิกบานใจ, ชุ่มชื่นใจ ; Samp:ระหว่าเดินออกจากโรงพยาบาล ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ผมรู้สึกหดหู่ใจเหลือเกิน
  4. สดชื่น : (V) ; be delighted ; Related:be cheerful, be joyful, be happy, be merry ; Syn:ชื่นบาน, ชื่นมื่น ; Ant:หดหู่ ; Def:ใหม่และบริสุทธิ์ อันกระทำให้เป็นที่เบิกบานใจ กระปรี้กระเปร่าขึ้น ; Samp:การไปล่องแก่ง ทำให้ชีวิตของเขาสดชื่นขึ้น
  5. น่าหดหู่ : (ADJ) ; depressed ; Related:gloomy, sad ; Syn:น่าสลด, น่าสลดหดหู่, น่าเศร้า ; Ant:น่ายินดี ; Def:ที่ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน ; Samp:ฉันไม่ชอบบรรยากาศที่น่าหดหู่เช่นนี้เลย
  6. น่าหดหู่ : (V) ; be depressed ; Related:be gloomy, be dejected, be sad ; Syn:น่าสลด, น่าสลดหดหู่, น่าเศร้า ; Ant:น่ายินดี ; Samp:สำหรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ผมคิดแล้วก็น่าหดหู่อยู่มาก
  7. ท้อใจ : (V) ; be discouraged ; Related:be dispirited ; Syn:ท้อถอย, หมดกำลังใจ, หดหู่, ท้อแท้, หมดหวัง ; Ant:มีกำลังใจ ; Samp:ถ้าเราทำกรรมดีก็ทำต่อไป อย่าไปท้อใจว่าทำดีเท่าไรก็ไม่เห็นได้อะไร
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หดหู่, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หดหู่, 9 found, display 1-9
  1. หดหู่ : ก. ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน, สลดใจ, เช่น เห็นสภาพบ้านเมืองทรุดโทรม แล้วใจคอหดหู่. ว. อาการที่รู้สึกห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน เช่น วันนี้เขาพบแต่ เรื่องเศร้า ๆ จึงรู้สึกหดหู่.
  2. ซึมเศร้า : ว. อาการที่รู้สึกเศร้าหมอง ว้าเหว่ ล้มเหลวหรือสิ้นหวัง, เศร้าซึม ก็ว่า; (จิตเวช) อาการที่มีอารมณ์เศร้า หดหู่ ว้าเหว่ ซึม มีความรู้สึกท้อถอย ล้มเหลว สิ้นหวัง เป็นต้น.
  3. แป้ว : ว. เบี้ยว, แฟบ, (มักใช้แก่ของที่มีลักษณะกลม ๆ) เช่น ขวดแป้ว ผลไม้แป้ว; อาการที่ใจฝ่อหรือหดหู่ลง ในคำว่า ใจแป้ว.
  4. เศร้าใจ : ว. มีความรู้สึกสลดหดหู่ใจ เช่น เห็นป่าถูกบุกรุกทำลาย แล้วเศร้าใจ.
  5. สลดใจ : ก. รู้สึกเศร้าใจแกมสังเวช, รู้สึกหดหู่ใจ, เช่น ข่าวแผ่นดินไหว คนตายเป็นหมื่น ๆ ฟังแล้วสลดใจ เห็นสุนัขถูกรถทับตาย รู้สึกสลดใจ.
  6. สังเวช, สังเวช : [สังเวด, สังเวชะ] ก. รู้สึกเศร้าสลดหดหู่ต่อผู้ที่ได้รับทุกขเวทนา หรือต้องตายไป หรือต่อผู้ที่ตนเคารพนับถือซึ่งประพฤติตนไม่ เหมาะสมเป็นต้น เช่น เห็นผู้คนประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตกแล้ว สังเวช พอรู้ข่าวว่าญาติผู้ใหญ่ของตนพัวพันคดีฉ้อราษฎร์บังหลวง ก็สังเวช. (ป., ส. สํเวชน).
  7. ห่อเหี่ยว : ว. มีความรู้สึกหดหู่, สลดใจ, เช่น หมู่นี้อ่านหนังสือพิมพ์มีแต่ ข่าวร้าย ๆ ทำให้รู้สึกห่อเหี่ยว.
  8. เหี่ยวแห้ง : ว. เหี่ยวแล้วค่อย ๆ แห้งไป เช่น ใบไม้เหี่ยวแห้ง. ก. ขาดความ สดชื่นเพราะหดหู่ใจ เช่น จิตใจเหี่ยวแห้ง, แห้งเหี่ยว ก็ว่า.
  9. แห้งเหือด : ก. ค่อยแห้งหายไปเพราะหดหู่ใจ เช่น จิตใจแห้งเหี่ยว, เหือดแห้ง ก็ว่า.

Budhism Thai-Thai Dict : หดหู่, 6 found, display 1-6
  1. ถีนมิทธะ : ความหดหู่และเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาซึมเซา (ข้อ ๓ ในนิวรณ์ ๕)
  2. ถีนะ : ความหดหู่, ความท้อแท้ใจ
  3. นิวรณ์ : ธรรมที่กั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, สิ่งที่ขัดขวางจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม มี ๕ อย่าง คือ ๑.กามฉันท์ พอใจในกามคุณ ๒.พยาบาท คิดร้ายผู้อื่น ๓.ถีนมิทธะ ความหดหู่ซึมเซา ๔.อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและรำคาญ ๕.วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
  4. นิวรณธรรม : ธรรมที่กั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, สิ่งที่ขัดขวางจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม มี ๕ อย่าง คือ ๑.กามฉันท์ พอใจในกามคุณ ๒.พยาบาท คิดร้ายผู้อื่น ๓.ถีนมิทธะ ความหดหู่ซึมเซา ๔.อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและรำคาญ ๕.วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
  5. สังเวช : ความสลดใจ, ความกระตุ้นให้คิด, ความรู้สึกเตือนสำนึก; ในทางธรรมความรู้สึกสลดใจที่ทำให้คิดได้ ทำให้จิตใจหันมานึกถึงสิ่งที่ดีงาม เกิดความไม่ประมาท เพียรพยายามทำสิ่งที่เป็นกุศลต่อไป จึงจะเรียกว่า สังเวช ความสลดใจ แล้วหงอยหรอหดหู่เสีย ไม่เรียกว่าเป็นความสังเวช
  6. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ

ETipitaka Pali-Thai Dict : หดหู่, 8 found, display 1-8
  1. ปฏิลีน : ค. หลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  2. ปฏิลียน : นป. การหลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  3. ปฏิลียติ : ก. หลบหลีก, ถอยหนี, (จิต) หดหู่, ย่อหย่อน
  4. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  5. ถีนมิทฺธ : (นปุ.) ความหดหู่และความเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาและความหาวนอน.
  6. อติลีน : ค. หดหู่ยิ่ง, ซึมเซามาก
  7. อลีน : ค. ไม่หดหู่, ไม่เฉื่อยชา, กระฉับกระเฉง
  8. อลีนตา : อิต. ความไม่หดหู่, ความไม่เฉื่อยชา, ความมีใจเปิดเผย, ความซื่อสัตย์สุจริต

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หดหู่, 1 found, display 1-1
  1. กระฉับกระเฉง, ไม่หดหู่ : อลีน [ค.]

(0.1593 sec)