Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 1251-1300
  1. นิกฺกงฺขา : อิต. การไม่มีความสงสัย
  2. นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
  3. นิกฺกรุณ : ค. ปราศจากความกรุณา, ไม่มีความเอ็นดู
  4. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  5. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  6. นิกฺกาม, - มี : ค. ปราศจากกาม, ไม่มีความใคร่, หมดความอยาก
  7. นิกฺกามี : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว, ฯลฯ.
  8. นิกฺโกธ : ค. ผู้ไม่มีความโกรธ
  9. นิกฺโกสชฺช : (ปุ.) คนมีความเกียจคร้านออก แล้ว, คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน. วิ. โกสชฺชํ ยสฺส นตฺถีติ นิกฺโกสชฺโช.
  10. นิกฺขม : (ปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
  11. นิกฺขมน : (นปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
  12. นิกฺเขปปท : (นปุ.) บทตั้ง, นิเขปบท (หัว เรื่อง ความย่อ).
  13. นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
  14. นิกนฺติ : (อิต.) ความอยาก, ความอยากได้, ความโลภ, ความปรารถนา, ความชอบใจ, ความรัก, ความยินดี, ความใคร่, ตัณหา. กมุ อิจฺฉายํ, ติ. แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่สุด ธาตุ.
  15. นิกาม : นป. ความใคร่, ความอยากได้, ความมักมาก
  16. นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
  17. นิกูชติ : ก. ร้องเสียงแหลม, ส่งเสียงร้องด้วยความยินดี, คุยอย่างสนุก
  18. นิคฺคหณ นิคฺคณฺหณ นิคคณฺหน : (นปุ.) การข่ม, ฯลฯ, ความข่ม, ฯลฯ.
  19. นิคฺคุณ : ค. ซึ่งปราศจากคุณความดี, เลว
  20. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  21. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  22. นิจฺจตา : อิต. ความเป็นของเที่ยง, ความเป็นของแท้, ความเป็นของยั่งยืน, ความถาวร
  23. นิจฺจสญฺญา : อิต. ความสำคัญหมายว่าเที่ยง, แน่นอน
  24. นิจฺจสญฺญี : ค. มีความสำคัญหมายว่าเที่ยงหรือแน่นอน
  25. นิจฺจิตฺตก : ค. ผู้ไม่มีความนึกคิด, ผู้ปราศจากจิตคิดถึง, ผู้ไม่ทันคิด
  26. นิจฺฉนฺท : ค. ผู้ปราศจากความพอใจ, ผู้ไม่มีความพอใจ
  27. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  28. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  29. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  30. นิชฺชฏ : ค. หมดความยุ่งยาก, หลุดออก, แก้ออก
  31. นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ, ๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
  32. นิชฺฌาปย : ค. มีความพินิจพิจารณา, มีความพินิจพิเคราะห์
  33. นิชฺฌามตณฺห : ค. ผู้ถูกตัณหาเผาผลาญ, ผู้อันตัณหาแผดเผา, ผู้มีความอยากมาก
  34. นิชฺฌายติ : ก. ตรึกตรอง, คิด; หมดไป, สิ้นไป; ถูก (ความทุกข์) แผดเผา
  35. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  36. นิฏฐรนิฏฐร : (นปุ.) คำกักขฬะ, ฯลฯ, ความกักขฬะ, ฯลฯ.
  37. นิฏฐริย : (นปุ.) ความริษยา.
  38. นิฏฐรี : (อิต.) ความริษยา.
  39. นิฏฐา : อิต. ความสำเร็จ, ที่สุด, จบ, ความตกลง, ความหมดไป, การหายไป, การตกอันดับ
  40. นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
  41. นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
  42. นิฏฐุริย : นป. ความหยาบคาย, ความโหดร้าย, ความรุนแรง, ความแข็งกระด้าง
  43. นิณฺณย : (ปุ.) ธรรมชาติตัดอารมณ์ไป, ความตระหนักแน่น, ความแน่ใจ. วิ. อารมฺมณํ นิจฺฉินนฺโต นยตีติ นิณฺณโย. นิปุพฺโพ, นยฺ คมเน, อ, นสฺส ณตฺตํ. เป็น นินฺนย โดย ไม่แปลง น เป็น ณ บ้าง.
  44. นิตฺตณฺห : ค. ไม่มีความอยาก, ปราศจากตัณหา, หมดความทะยานอยาก
  45. นิตฺรถรณ : (นปุ.) การช่วยเหลือ, ฯลฯ, ความช่วยเหลือ, ฯลฯ.
  46. นิติปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้ในกฎหมาย, นักปราชญ์ทางกฎหมาย, เนติบัณฑิต ใช้ เรียกผู้ที่สอบได้ปริญญาทางกฎหมาย.
  47. นิติภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลตาม กฎหมาย, ภาวะตามกฎหมาย, นิติภาวะ. ไทย นิติภาวะคือ ความเป็นผู้มีอายุตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ให้มีความสามารถ เต็มที่ตามกฎหมาย.
  48. นิทฺทกฺขย : (วิ.) สิ้นความหลับ, ตื่น.
  49. นิทฺทนฺต : นป. ความหลับ
  50. นิทฺทย : ค. หมดความกรุณา, ปราศจากความเอื้อเฟื้อ, ไม่สงสาร, โหดร้าย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | [1251-1300] | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3744

(0.0564 sec)