Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 551-600
  1. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  2. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  3. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  4. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  5. จาล : (ปุ.) การไหว, ฯลฯ, ความไหว, ฯลฯ จลฺ กมฺปเน, โณ.
  6. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  7. จิณฺณวสี : ค. ผู้มีความชำนาญอันตนประพฤติแล้ว, ผู้ปฏิบัติเชี่ยวชาญแล้ว
  8. จิตฺตกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
  9. จิตฺตกถ, - กถิก, - กถี : ค. ผู้กล่าวถ้อยคำอันวิจิตร, ผู้กล่าวถ้อยคำไพเราะ, ผู้เป็นนักพูดที่ฉลาด, ผู้มีวาทศิลป์, ผู้เป็นนักเทศน์
  10. จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
  11. จิตฺตกลฺลตา : อิต. ความพรั่งพร้อมแห่งจิต, การฉับไวแห่งจิต
  12. จิตฺตกลิ : ป. ความชั่วร้ายแห่งจิต, โทษของจิต, จิตที่ชั่วช้า, จิตที่ต่ำทราม
  13. จิตฺตกิเลส : ป. สิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, ความเศร้าหมองแห่งจิต
  14. จิตฺตเกฬิสา : อิต. ความรื่นรมแห่งจิตใจ
  15. จิตฺตตา : อิต. จิตฺตตฺต นป. ความเป็นสิ่งวิจิตร, ความเป็นสิ่งสวยงาม
  16. จิตฺตปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  17. จิตฺตปีฬา : (อิต.) ความเบียดเบียนจิต, ความบีบคั้นจิต, การสลบ, ความสลบ.
  18. จิตฺตมล : นป. มลทินแห่งจิต, ความหม่นหมองแห่งจิต
  19. จิตฺตมุทุตา : อิต. ความอ่อนโยนแห่งจิต
  20. จิตฺตลหุตา : อิต. ความเบาแห่งจิต
  21. จิตฺตวิกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
  22. จิตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้ในเรื่องของจิต, วิชชา ว่าด้วยจิต, จิตตวิทยา, จิตวิทยา. วิ. จิตตฺวตฺถุมฺหิ วิชฺชา จิตฺตวิชฺชา.
  23. จิตฺตวิพฺภม : (ปุ.) การหมุนไปผิดของจิต, ความหมุนไปผิดของจิต, ความบ้า. วิ. จิตฺตสฺส วิพฺภโม จิตฺตวิพฺภโม.
  24. จิตฺตวูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  25. จิตฺตสงฺกิเลส : ป. ความเศร้าหมองแห่งจิต, จิตเศร้าหมอง
  26. จิตฺตสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งซึ่งจิต, ความปรุงแต่งแห่งจิต, สภาพผู้ปรุงแต่งจิต.
  27. จิตฺตสญฺญตฺติ : อิต. ความหมายรู้ด้วยใจ, มั่นใจ
  28. จิตฺตสณฺหตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็น ธรรม ชาตละเอียด.
  29. จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
  30. จิตฺตสมถ : ป. ความสงบแห่งจิต
  31. จิตฺตสมาธิ : ป. ความตั้งมั่นแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  32. จิตฺตสโมธาน : นป. ความรวมลงพร้อมแห่งจิต, ความพร้อมเพรียงแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  33. จิตฺตาธิปติ : ป. จิตตาธิบดี, ธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต, ความเป็นใหญ่แห่งจิต
  34. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  35. จิตฺตาโภค : (ปุ.) ความคำนึงแห่งจิต, ความหวน คิดแห่งจิต, ความตั้งใจ. จิตฺต+อาโภค.
  36. จิตฺติ : (อิต.) การบูชา, ความเคารพ, ความยำ เกรง. จิตฺ ปูชายํ, ติ.
  37. จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
  38. จิตฺตุชฺชุกตา : อิต. ความซื่อตรงแห่งจิต, ความเป็นผู้มีจิตซื่อตรง
  39. จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
  40. จิตฺตุปฺปาท : (ปุ.) การยังจิตให้เกิดขึ้น, การบัง เกิดขึ้นแห่งจิต. ความบังเกิดขึ้นแห่งจิต, ความบังเกิดขึ้นแห่งความคิด.
  41. จิตฺเตกคฺคตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  42. จิติ : อิต. ความสั่งสม, ความสะสม; กอง, ก้อน
  43. จินฺตก, - ตนก : ค., นป. ผู้คิด, ผู้ดำริ, ผู้แต่ง; คนมีความคิด, คนมีความฝักใฝ่, ผู้คิดสร้าง, ผู้แต่ง
  44. จินฺตน : นป. จินฺตนา อิต. การคิด, การดำริ, ความนึกคิด, ความดำริ
  45. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  46. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  47. จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
  48. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  49. จินฺตามย : ค. ซึ่งสำเร็จด้วยความคิด
  50. จินฺตี : ค. ผู้มีความคิด, ผู้มีความดำริ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3744

(0.0938 sec)