Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 401-450
  1. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  2. ขมีลน : (นปุ.) ความลับ. ขมปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, ยุ.
  3. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  4. ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
  5. ขรตฺต : นป. ความขรุขระ, ความหยาบ
  6. ขลน : (นปุ.) การไหว, ความไหว, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, ยุ.
  7. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  8. ขลฺลาฏิย : นป. ความเป็นผู้หัวล้าน
  9. ขลิต : (นปุ.) กรรมอันพลาดพลั้งแล้ว, ความพลั้งพลาด.
  10. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  11. ขิฑฺฑปโทสิก : ค. ผู้อันความเพลิดเพลินประทุษร้าย คือ ได้รับโทษจากการเล่น
  12. ขิฑฺฑรติ : อิต. ความเพลิดเพลินในการเล่น
  13. ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
  14. ขีณตา : อิต. ขีณตฺต นป. ความสิ้นไป, ความหมดไป
  15. ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
  16. ขีว : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, ความประมาท. ขีวุ มเท, อ.
  17. ขุทา : อิต. ความหิว, ความอยาก
  18. ขุทา ขุทฺทา : (อิต.) ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความหิว, การกิน. ขุทฺ ชิฆจฺ- ฉายํ, โท. ศัพท์ต้นลบที่สุดธาตุ. ขุทฺทา วุจฺจติ ฉาตโก. ไตร. ๓0/๓๗๑.
  19. ขุธา : อิต. ความหิว, ความกระหาย
  20. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  21. เขฏ : (ปุ.) ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ขิฏฺ อุตฺตาเส, อ. วิการ อิ เป็น เอ.
  22. เขท : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โณ.
  23. เขป : (ปุ.) การติเตียน, การนินทา, ความติเตียน. วิ. ขิปนํ พหิกรณํ เขโป. ขิปฺ เปรเณ, โณ. อภิฯ ลง ปัจ.
  24. เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
  25. เขมฏฐิต : ค. ผู้ดำรงอยู่ในความเกษม, ผู้สำราญ
  26. เขมปฺปตฺต : ค. ผู้ตั้งอยู่ในความเกษมสำราญ
  27. เขมี : (วิ.) มีความดี, ฯลฯ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  28. โขภ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความปั่นป่วน. ขุภฺ, สญฺจลเน, อ, ยุ.
  29. โขภน : (นปุ.) ความกำเริบ, ความปั่นป่วน. ขุภฺ, สญฺจลเน, อ, ยุ.
  30. คชฺช : (ปุ.) ภาวะเกิดที่ช้าง (คือความเมา) วิ. คเช ชายตีติ คชฺโช. มโท. ณฺย ปัจ.
  31. คณพนฺธน : นป. ความผูกพันกันเป็นหมู่, การร่วมมือกัน
  32. คณสงฺคนิกา : อิต. ความปรารถนาจะอยู่กับหมู่คณะ
  33. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  34. คณารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในหมู่คณะ
  35. คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
  36. คตตฺต : นป. ความเป็นแห่ง....ผู้ไปแล้ว
  37. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  38. คท : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. คํ วุจฺจติ ทุกฺขํ. ตํ เทตีติ คโท. คปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. คท.
  39. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  40. คนฺถน : นป. การถัก, การบิด; การแต่งความ, การร้อยกรอง
  41. คนฺธตณฺหา : (อิต.) ความอยากในกลิ่น, ความพอใจในกลิ่น.
  42. คนฺธสญฺเจตนา : อิต. คันธสัญเจตนา, ความติดใจในกลิ่น
  43. คนฺธสญฺญา : อิต. คันธสัญญา, ความสำคัญหมายในกลิ่น
  44. คนฺธารมฺมณ : ๑. นป. คันธารมณ์, อารมณ์คือกลิ่น, ความติดในกลิ่น ๒. ค. มีกลิ่น
  45. คนฺธาสา : อิต. ความหวังหรืออยากในกลิ่น
  46. คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
  47. คพฺพน : (นปุ.) ความหยิ่ง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  48. คมฺภีรตา : อิต. ความลึกซึ้ง
  49. คมฺภีราวภาส : ค. ซึ่งมีความลึกซึ้งปรากฏ, ปรากฏว่าลึกซึ้ง
  50. คยฺหุปค คยฺหูปค : (วิ.) อันเข้าถึงซึ่งความเป็น ของอัน...พึงถือเอา, เข้าถึงซึ่งความเป็นของ ควรถือเอา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3744

(0.0863 sec)