Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 2801-2850
  1. อธีร : ค. ไม่หาญ, ไม่ฉลาด
  2. อโธคติ : (อิต.) ความไปต่ำ, ความต่ำต้อย, ความต่ำทราม.
  3. อนคฺฆ : (วิ.) มีค่าหามิได้วิ.นตฺถิอคฺโฆเอตสฺสาติอนคฺโฆความหมายแท้จริงหมายความว่า มีค่ามากจนกำหนดค่าไม่ได้ฏีกาเวสฯท่านจึงแก้ว่าโสหิอคฺฆสฺสมหนฺตตฺตาอนคฺโฆติวุตฺโต.ส.อนรฺฆ.
  4. อนฆ : (วิ.) ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความทุกข์, ไม่มีความวิบัติ, ไม่มีความฉิบหาย.น+อฆ.
  5. อนฺตกาล : (ปุ.) กาลแห่งความตาย, เวลาตาย.ส.อนฺตกาล.
  6. อนฺตคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งที่สุด, ผู้ชนะความทุกข์.
  7. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  8. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  9. อนตฺถตา : (อิต.) ความที่แห่งกรรมเป็นกรรมมิใช่ประโยชน์, ความเป็นแห่งกรรมมิใช่ประโยชน์.
  10. อนฺตรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การตั้ง-อยู่ในที่อื่น, การหายไป, การสูญ, การสูญหายไป (หายลับไ), ความสูญ, ความสูญหายไป, อนฺตรหรืออนฺตรํบทหน้าธาธาตุ ยุปัจ.ถ้าใช้อนฺตรํเป็นบทหน้าลบนิคคหิต.
  11. อนฺตรามรณ : นป. ความตายในระหว่าง คือ ตายก่อนเวลาที่สมควร
  12. อนฺตราย : (ปุ.) ธรรมอันมาในระหว่าง, สภาพเป็นเครื่องเป็นไปในระหว่าง, ความฉิบหายอันมาในระหว่าง, การอุบาทว์, ความขัดข้อง, อันตราย (เหตุที่ทำให้ถึงความแตกดับ)วิ.จตุปฏิสนฺธีนมนฺตเรอายตีติอนฺตราโย.อนฺตรํวฺยวธานํอายติคจฺฉตีติวาอนฺตรา-โย.อนฺตราเวมชฺเฌอายนฺตีติวาอนฺตรา-โย.สมฺปตฺติยาวิพนฺธนวเสนสตฺตสนฺตา-นสฺสอนฺตเรเวมชฺเฌเอติอาคจฺฉตีติวาอนฺตราโย.อนฺตราบทหน้าอิ ธาตุ อ ปัจ.ส. อนฺตราย.
  13. อนฺตรายิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอันตราย, ธรรมอันทำซึ่งอันตราย, เหตุเครื่องขัดข้องต่าง, เหตุขัดข้องต่าง ๆ, ความขัดข้องต่าง ๆอันตรายิกธรรม
  14. อนฺติมวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันมีในที่สุด, อันติมวัตถุชื่อของการต้องอาบัติมีโทษถึงที่สุดคือการต้องอาบัติปาราชิกซึ่งขาดจากความเป็นภิกษุ.
  15. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  16. อนฺธการ : (ปุ.) กาลผู้กระทำซึ่งมืด, สภาพผู้กระทำซึ่งมืด, ความมืดทำซึ่งความเป็นผู้บอด, ความมืด, ความมืดมัว, ความเขลา, วิ.อนฺธํหตทิฎฺฐิสตฺติกํโลกํกโรตีติอนฺธกาโร.ส. อนฺธการ.
  17. อนฺธกิย : (วิ.) ประกอบในความมืด, เกิดในความมืด.
  18. อนฺธตมอนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด.วิ. อนฺธญฺจตํตมญฺจาติอนฺธตมํอนฺธนฺตมํ วา
  19. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  20. อนฺธตม, อนฺธนฺตม : ป., นป. ความมืดตื้อ
  21. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  22. อนพฺภุณฺณตตา : อิต. ความเป็นของไม่ตั้งขึ้น
  23. อนภาว : ป. ความไม่มีต่อไป, ความสุดลงเด็ดขาด
  24. อนภิชฺฌา : อิต. ความไม่เพ่งเล็ง, ความไม่ปรารถนา
  25. อนภิชฺฌาลุ : ค. ไม่มีความโลภ, ไม่เพ่งเล็ง
  26. อนภิชานน : (นปุ.) ความไม่รู้ยิ่ง.
  27. อนภิรติ : อิต. ความไม่ยินดี, ความไม่ชอบใจ
  28. อนภิรทฺธิ : (อิต.) ความขึ้งเคียด, ความจำนงภัย, ความปองร้าย.วิ.ปรสมฺปตฺตีสุ นาภิรมตีติอนภิรทฺธิ.นอภิปุพฺโพ, รมุรมเณ, ติ.แปลงติเป็นทฺธิลบมุ.
  29. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  30. อนวชฺชตา : (อิต.) ความไม่มีโทษ.
  31. อนฺวย : (ปุ.) การเป็นไปตาม, การอนุโลมตาม, ความเป็นไปตาม, ความอนุโลมตาม, การสืบสาย, เชื้อสาย, วงศ์.อนุปุพฺโพ, อิ คติยํ, อ.ส. อนฺวย.
  32. อนวสฺสว : (ปุ.) ความยืดเยื้อ.น+อสฺสววฺ อาคม
  33. อนฺวาสตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ถูกกระทบแล้ว, ความยึดมั่นถือมั่น
  34. อนสฺสน : นป. ความไม่เสียหาย, การไม่สูญสิ้น
  35. อนสุโรป : ป. ความไม่โกรธ, ความไม่เกลียด
  36. อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  37. อนาคตสาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่ มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  38. อนาคมิตา : อิต. ความเป็นพระอนาคามี
  39. อนาถ : (วิ.) ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้หาที่พึ่งไม่ได้, ผู้ไร้ที่พึ่ง, ผู้ไม่มีอิสระ.ไทย อนาถ (อะหนาด)ใช้ในความหมายว่า สงสาร สังเวช สลดใจ.อนาถาใช้ในความหมายว่ากำพร้ายากจนเข็ญใจ.ส.อนาถ.
  40. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  41. อนาทรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เอื้อเฟื้อ
  42. อนาทาน : ค. ไม่มีความยึดมั่นถือมั่น
  43. อนาปตฺติ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งอาบัติวิ. อาปตฺติยาอภาโวอนาปตฺติ.
  44. อนามย : (วิ.) มิใช่คนเจ็บไข้, ไม่มีความเจ็บไข้, มิใช่ความเจ็บไข้, สุข, สบาย, สุขสบาย, เป็นสุข.
  45. อนายูหน : นป. ความไม่พยายาม, ความไม่ขวนขวาย
  46. อนาลย : (วิ.) ไม่มีความห่วงใย, ไม่มีความกังวล
  47. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  48. อนาวร : (วิ.) หาความขัดข้องมิได้, ไม่มีความขัดข้อง.
  49. อนาสกตฺต : นป. ความเป็นผู้อดอาหาร
  50. อนาสกา : (อิต.) ความไม่กิน.น+อาสกา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | [2801-2850] | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3744

(0.1467 sec)