Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 1851-1900
  1. พุทฺธโกลาหล : นป. ความแตกตื่นอยากดูเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา
  2. พุทฺธญาณ : นป. ญาณของพระพุทธเจ้า, ความรู้ที่กว้างขวางไม่มีขอบเขตจำกัด
  3. พุทฺธตา : อิต. ความเป็นพระพุทธเจ้า, ความเป็นแห่งผู้รู้
  4. พุทฺธปมุข : (วิ.) มีพระพุทธเจ้าเป็นหัวหน้าโดยความเป็นประธาน, มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข.
  5. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  6. พุทฺธมนฺต : นป.พุทธมนต์, พระดำรัสอันแฝงไว้ด้วยความหมายอันลึกซึ้งของพระพุทธเจ้า
  7. พุทฺธลีลา : อิต. ความสง่างามในการเคลื่อนไหวของพระพุทธเจ้า
  8. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  9. โพชฺฌา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ปัญญาเป็นเครื่องบรรลุ, ความรู้, ปัญญา.
  10. โพธิญาณ : (ปุ.) ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้, โพธิญาณ คือ ความตรัสรู้ที่ได้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า.
  11. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  12. โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).
  13. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  14. โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
  15. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  16. ภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งการกล่าว. ภน+ณฺย ปัจ. ภาวทัต. การกล่าว. ณฺย ปัจ. สกัด.
  17. ภทฺทา, ภทฺทิกา : อิต. หญิงที่มีความเจริญดี
  18. ภนฺตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความประหลาดใจ.
  19. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  20. ภพฺพตา : อิต. ความสามารถ, ความเหมาะสม
  21. ภมน : (นปุ.) การหมุนไป, การแล่นไป, ความหมุนไป, ความแล่นไป. ยุ ปัจ.
  22. ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
  23. ภยาคติ : (อิต.) ความลำเอียงอันเกิดจากความกลัว, ความลำเอียงเพราะความกลัว.
  24. ภยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
  25. ภว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น, ความเจริญ, ความเกิด, การเกิด, การถึง, ธาตุมีกามธาตุเป็นต้น, สังสาร, สัสสติทิฏฐิ, ประเทศที่เกิด, ที่เกิด, ภพ. ภู สตฺตายํ, อ. แปลว่า โลก แผ่นดิน ก็มี.
  26. ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
  27. ภวทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นว่ามี, ความเห็นว่าเป็น, ความเห็นว่าเที่ยง, ความเห็นในความมี, ฯลฯ.
  28. ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
  29. ภวนิกฺขมน : (นปุ.) อันออกไปจากภพ, ความออกไปจากภพ.
  30. ภวโยค : (ปุ.) เครื่องมัดสัตว์คือความพอใจในความมีความเป็น, เครื่องมัดสัตว์ คือความประกอบอยู่ในภพ.
  31. ภวราค : (ปุ.) ความกำหนัดในภพ, ความยินดีในภพ, ความติดใจในภพ, ความพอใจในภพ, ภวราคะ. ดู ไตร.๓๐ ข้อ ๑๓๖.
  32. ภวราคานุสย : (ปุ.) กิเลสอันนอนเนื่องอยู่ในสันดาน คือ ความกำหนัดในภพ.
  33. ภวาภว : (ปุ.) ความเป็นอยู่และภาวะมิใช่ความเป็นอยู่, ภพแลภพอันเจริญ, ภพและภาวิมิใช่ภพ, ภพน้อยภพใหญ่, ความเจริญและความเสื่อม.
  34. ภวาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปในภพ, กิเลสเครื่องหมักดอกในภพ, อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น, อาสวะ คือ ภพ, ภาสวะ (ความหมกมุ่นอยู่ในภพ).
  35. ภสฺสารามตา : อิต. ความพอใจในการพูดเหลวไหล
  36. ภา : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รัศมี, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, อ.
  37. ภาชน : (นปุ.) การแจก, การจำแนก, ความแจก, ความจำแนก, วัตถุเป็นที่แบ่ง. ภชฺภาชเน, ยุ, ภาชฺ วา ปุถกมฺมนิ.
  38. ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
  39. ภาวน : (นปุ.) คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ.
  40. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  41. ภาวี : ค., ป. ซึ่งมี, ซึ่งเป็น, ความมี, ความเป็น
  42. ภาสิต : (นปุ.) คำอัน...พึงกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, คำกล่าว, คำที่กล่าว, ภาสิต ภาษิต คือคำกล่าวที่มีคติความฟัง คำกล่าวที่เป็นประโยชน์. ภาสฺ+ต ปัจ. อาคม.
  43. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  44. ภิกฺขุภาว : ป. ความเป็นภิกษุ
  45. ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
  46. ภิยฺโยภาว : (ปุ.) ความเจริญยิ่ง.
  47. ภิสินี : (อิต.) สระมีดอกบัว, สระบัว, ความสะดุ้ง.
  48. ภีติ : อิต. ความกลัว
  49. ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.
  50. ภีรตา : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | [1851-1900] | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3744

(0.1547 sec)