Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 3601-3650
  1. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  2. อุปกรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การช่วยเหลือ, การส่งเสริม, ความอุดหนุน, ฯลฯ, เครื่องมือ, เครื่องใช้. อุปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. ส. อุปกรณ.
  3. อุปการ : (ปุ.) คุณเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, ฯลฯ (ดู อุปกรณ)ความอุดหนุน, ฯลฯ, ประโยชน์, อุปการะ. วิ. อุปคนฺตฺวา กโรตีติ อุปกาโร. ณ ปัจ. ส. อุปการ.
  4. อุปค : (ปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  5. อุปคมน : (นปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  6. อุปจาร : (วิ.) จวน, ใกล้, ใกล้เคียง, เฉียด, ซัดทอด, ใส่ความ.
  7. อุปตฺติเหตุ อุปฺปตฺติเหตุ : (ปุ.) เหตุแห่งการบังเกิด, ฯลฯ. อุบัติเหตุ ไทยใช้ในความหมายว่า เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด.
  8. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  9. อุปทฺทว : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปประทุษ ร้าย, อันตรายเครื่องเข้าไปเบียดเบียน, ความคับแค้น, ความลำบากยากแค้น. ความอัปรีย์, ความจัญไร, จัญไร, อันตราย, อุปัททวะ, อุบาทว์. วิ. อุปคนฺตวา ทุโนตีติ อุปทฺทโว. อุปปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป หึสายํ วา, อ. อุปคนฺตฺวา ทวตีติ วา อุปทฺทโว. อุปทวนํ วา อุปทฺทโว. ส. อุปทฺรว.
  10. อุปทา อุปาทา : (อิต.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของฝาก, บรรณาการ. (ของที่ส่งไปให้ด้วย ความเคารพนับถือ หรือด้วยไมตรี). วิ. อุปคนฺตฺวา ทาตพฺพโต อุปทา. อุปคนฺตฺวา- ปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. อุปทา.
  11. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  12. อุปนยฺหนา : อิต. การเข้าไปผูกความมุ่งร้าย, การผูกพยาบาท, การเข้าไปผูกมั่น
  13. อุปนาห : (ปุ.) การผูกเวร, การจองเวร, การผูกโกรธ, ความผูกเวร, ฯลฯ. วิ. ปุนปฺปุนํ อุปคนฺตฺวา. นยฺหติ จิตฺตนฺติ อุปนาโห. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โณ.
  14. อุปนิกฺขิตฺตก : ๑. ป. จารบุรุษ, คนสืบความลับ; ๒. ค. ดู อุปนิกฺขิตฺต
  15. อุปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งด้วยใจ, การพินิจ, การพิจารณา, ความเพ่งด้วยใจ, ฯลฯ. อุป นิ ปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  16. อุปนิชฺฌายน : นป. ความพินิจ, การไตร่ตรอง
  17. อุปนิพนฺธ : ๑. ป. ความเกี่ยวพัน; ๒. ค. เกี่ยวพัน
  18. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  19. อุปฺปฏิปาฏิ : อิต. ความไม่เป็นไปตามลำดับ, ความไม่สม่ำเสมอ
  20. อุปปตฺติ : (อิต.) การเข้าถึง, ความเข้าถึง, อุปบัติ. อุปปุพฺโพ, ปทฺ, คติยํ, ติ. ดู อุปฺปตฺติ ด้วย.
  21. อุปฺปตน : (นปุ.) การขึ้น, การเกิดขึ้น, การอุบัติ, ความขึ้น, ฯลฯ. อุปุพโพ. ปตฺ คติยํ, ยุ. ซ้อน ปฺ.
  22. อุปฺปาทนิโรธ : (ปุ.) ความเกิดขึ้นและความดับ.
  23. อุปฺปาทวยธมฺมิน : (วิ.) มีอันเกิดขึ้นและอัน เสื่อมไปเป็นธรรมดา, มีความเกิดขึ้นและ ความเสื่อมไปเป็นธรรมดา. อุปฺผณฺฑน อุปฺผนฺทน (นุป.) ความหมั่น, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ, ปฺสํโยโค.
  24. อุปพฺรูหน : นป. ความเจริญ, การเพิ่มขึ้น, การขยายตัว
  25. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  26. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  27. อุปโยค : (ปุ.) การเข้าไปประกอบ, การประกอบเข้า, การใช้สอย, ความเข้าไปประกอบ, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, โณ. ส. อุปโยค.
  28. อุปรชฺช : นป. ความเป็นอุปราช
  29. อุปลกฺขณา : อิต. การเข้าไปกำหนดหมาย, ปัญญาเครื่องกำหนดความแตกต่าง
  30. อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
  31. อุปลาสิกา : อิต. ความกระหาย, ความอยาก, ความกดขี่
  32. อุปวชฺชตา : อิต. ความเป็นผู้ควรว่าร้าย, ความเป็นผู้ควรตำหนิ
  33. อุปวิจาร : ป. ความพินิจพิเคราะห์, การพิจารณา
  34. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  35. อุปสม : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปสลบ, ธรรมเป็นที่เข้าไประงับ, การเข้าไปสงบ, การเข้าไประงับ, ความเข้าไปสงบ, ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ. อุปปุพฺโพ, สมฺ อุปสเม, อ.
  36. อุปสฺสุติ : อิต. การฟัง, การแอบฟัง, ความสนใจ
  37. อุปหติ : (อิต.) การเข้าไปเบียดเบียน, ความเข้าไปเบียดเบียน. อุปปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, ติ. ลบ นฺ.
  38. อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
  39. อุปาทานกฺขนฺธ : ป. ความยึดถือขันธ์
  40. อุปาทานกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งอุปาทาน
  41. อุปาทานปจฺจย : ป. ปัจจัยคืออุปาทาน, เหตุอันเกิดจากความยึดถือ
  42. อุปายกุสล : ค. ผู้ฉลาดในอุบาย
  43. อุปายาส : (ปุ.) ความคับแค้น, ความคับแค้น ใจ, ความเคือง. อุป อา ปุพฺโพ, ยา คติยํ, โส.
  44. อุเปกฺขก : ค. ผู้เข้าไปเพ่ง, ผู้มีความวางเฉย, ผู้มีใจเป็นกลาง
  45. อุเปกฺขนา : (อิต.) กิริยาที่วางเฉย, ความวาง เฉย.
  46. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  47. อุพฺพิชฺชนา : อิต. ความยุ่งยากใจ, ความหวาดเสียว, ความกลัว
  48. อุพฺพิล : นป. ความเบิกบาน, ความปลื้มใจ
  49. อุพฺพิลาวิตตฺต : นป. ความเป็นผู้เบิกบานใจ, ความชื่นบาน
  50. อุพฺเพค : ป. ความตื่นเต้น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | [3601-3650] | 3651-3700 | 3701-3744

(0.0915 sec)